ภาคผนวก:1000 คำภาษาญี่ปุ่นพื้นฐาน

คำนาม

บุคคล

  • にんげん人間 – มนุษย์ (นิงเง็ง)
  • じんるい人類 – มนุษยชาติ (จินรุย)
  • ひと – คน (ฮิโตะ)
  • おとこ – เพศชาย (โอะโตะโกะ)
  • おとこのひと男の人 – ผู้ชาย (โอะโตะโกะโนะฮิโตะ)
  • おとこのこ男の子 – เด็กผู้ชาย (โอะโตะโกะโนะโกะ)
  • おんな – เพศหญิง (อนนะ)
  • おんなのひと女の人 – ผู้หญิง (อนนะโนะฮิโตะ)
  • おんなのこ女の子 – เด็กผู้หญิง (อนนะโนะโกะ)
  • あかちゃん赤ちゃん – ทารก (อะกะชัง)
  • わかもの若者 – คนหนุ่มสาว (วะกะโมะโนะ)
  • わたし – ฉัน, ตัวฉัน (วะตะชิ)
  • わたくし – ฉัน, ตัวฉัน (วะตะกุชิ [เป็นทางการที่สุด])
  • ぼく – ฉัน, ตัวฉัน (โบะกุ, ส่วนมากใช้โดยผู้ชาย)
  • おれ – ฉัน, ตัวฉัน (โอะเระ, ส่วนมากใช้โดยผู้ชาย [ไม่เป็นทางการ])
  • あたし – ฉัน, ตัวฉัน (อะตะชิ, ส่วนมากใช้โดยผู้หญิง [ทำให้ฟังแล้วเสียงนุ่มนวล])
  • しょうじょ少女 – เด็กผู้หญิง (โชโจะ)
  • しょうねん少年 – เด็กผู้ชาย (โชเน็ง)

====อาชีพ====จิตรการ

ร่างกาย

  • あし – เท้า, ขา (อะชิ)
  • かかと – ส้นเท้า (คะกะโตะ)
  • すね – หน้าแข้ง (ซุเนะ)
  • ひざ – เข่า (ฮิซะ)
  • もも – ต้นขา (โมะโมะ)
  • あたま – ศีรษะ (อะตะมะ)
  • かお – ใบหน้า (คะโอะ)
  • くち – ปาก (คุจิ)
  • くちびる – ริมฝีปาก (คุจิบิรุ)
  • – ฟัน (ฮะ)
  • はな – จมูก (ฮะนะ)
  • ひげ – หนวด, เครา (ฮิเงะ)
  • かみ – ผม (คะมิ)
  • みみ – หู (มิมิ)
  • – กระเพาะอาหาร (อิ)
  • うで – แขน (อุเดะ)
  • ひじ – ข้อศอก (ฮิจิ)
  • かた – ไหล่ (คะตะ)
  • つめ – เล็บ (สึเมะ)
  • – มือ (เทะ)
  • てくび手首 – ข้อมือ (เทะคุบิ)
  • てのひら手の平 – ฝ่ามือ (เทะโนะฮิระ)
  • ゆび – นิ้วมือ (ยุบิ)
  • しり – ก้น (ชิริ)
  • おなかお腹はら) – ช่วงท้อง (โอะนะกะ)
  • かんぞう肝臓 – ตับ (คันโซ)
  • きも – ตับ (คิโมะ)
  • きんにく筋肉 – กล้ามเนื้อ (คินนิกุ)
  • くび – คอ (คุบิ)
  • こころ – หัวใจ [ในลักษณะความรู้สึก] (โคะโกะโระ)
  • こし – เอว, สะโพก (โคะชิ)
  • しんぞう心臓 – หัวใจ (ชินโซ)
  • せなか背中 – หลัง (เซะนะกะ)
  • – เลือด (ชิ)
  • にく – เนื้อ (นิกุ)
  • はだ – ผิวหนัง (ฮะดะ)
  • ひふ皮膚 – ผิวหนัง (ฮิฟุ)
  • ほね – กระดูก (โฮะเนะ)
  • むね – หน้าอก (มุเนะ)
  • かぜ風邪 – หวัด [อาการเจ็บป่วย] (คะเซะ)
  • げり下痢 – ท้องร่วง (เกะริ)
  • びょうき病気 – เจ็บป่วย (เบียวกิ)

ครอบครัว

ชีวิต

สัตว์

พืช

พืชเก็บเกี่ยว

  • こめ – ข้าวดิบ (โคะเมะ)
  • いね – ข้าวในทุ่งนา (อิเนะ)
  • むぎ – ข้าวสาลี, ข้าวบาร์เลย์, ข้าวโอ๊ต (มุงิ)
  • やさい野菜 – ผัก (ยะไซ)
  • くだもの果物 – ผลไม้สำหรับรับประทาน (คุดะโมะโนะ)
  • いも – มันเทศ, มันฝรั่ง, เผือก (อิโมะ)
  • まめ – ถั่ว, เมล็ดถั่ว (มะเมะ)
  • だいこん大根 – ผักกาดหัว (Raphanus sativus var. longipinnatus) (ไดกน)
  • にんじん人参 – แครอท (นินจิง)
  • リンゴ林檎 – แอปเปิ้ล (ริงโงะ)
  • ミカン蜜柑 – ส้มแมนดาริน (มิกัง)
  • バナナかんしょう甘蕉 – กล้วย (บะนะนะ, คันโช)
  • ナシ – ลูกแพร์ (นะชิ)
  • クリ – ต้นเกาลัด (คุริ)
  • モモ – ลูกพีช (โมะโมะ)
  • トマトばんか蕃茄 – มะเขือเทศ (โทะมะโตะ, บังกะ)
  • スイカ西瓜 – แตงโม (ซุยกะ)

อาหาร

เครื่องดื่ม

เครื่องปรุงรส

เวลา

  • じかん時間 – เวลา (จิกัง) (Jikan)
  • とき – ~ชั่วโมง (โทะกิ, จิ) (Toki,Ji)
  • こよみカレンダー – ปฏิทิน (โคะโยะมิ, คะเร็นดา) (Koyomi,Karendā)
  • ふん – นาที (ฟุง) (Fun)
  • びょう – วินาที (เบียว) (Byō)
  • にち – วัน (ฮิ, นิชิ) (Hi,Ni chi)
  • つきげつ – เดือน (สึกิ, เกะสึ) (Tsuki,Getsu)
  • (# -งะสึ / (มกราคม,เดือนที่ 1): อิชิ-,นิ-,ซัง-,ชิ-,โกะ-,รกกุ-,ชิชิ-,ฮะชิ-,คุ-,จู-,จูอิชิ-,จูนิ- (ธันวาคม,เดือนที่ 12)) (12 Tsuki)
  • としねん – ปี (โทะชิ, เน็ง) (Toshi,Nen)
  • (ปีที่แล้ว: เคียวเน็ง, ปีนี้: โกะโตะชิ, ปีหน้า: ไรเน็ง), (Sakunen,Kotoshi wa,Rainen)
  • きのうさくじつ昨日 – เมื่อวาน (คิโน, ซะกุจิสึ) (Kinō,Sakujitsu)
  • きょう今日 – วันนี้ (เคียว) (Kyō)
  • あしたあすみょうにち明日 – พรุ่งนี้ (อะชิตะ, อะซุ, เมียวนิชิ) (Ashita,Mi younichi,Asu)
  • あさ – ตอนเช้า (อะซะ) (Asa)
  • (เมื่อวานตอนเช้า: คิโน โนะ อะซะ, เช้านี้: เคะซะ, พรุ่งนี้เช้า: อะชิตะ โนะ อะซะ) (Kinō no asa,Kesa,Asunoasa)
  • ひる – ตอนเที่ยง (ฮิรุ) (Hiru)
  • ゆうがた夕方 – ตอนเย็น (ยูงะตะ) (Yūgata)
  • ばん – ตอนเย็น (บัง) (Ban)
  • よる – ตอนเย็น, กลางคืน (โยะรุ) (Yoru)
  • ようび曜日 – วัน... (โยบิ) (Yōbi)
  • げつようび月曜日 – วันจันทร์ (เกะสึโยบิ) (Getsuyōbi)
  • かようび火曜日 – วังอังคาร (คะโยบิ) (Kayōbi)
  • すいようび水曜日 – วันพุธ (ซุยโยบิ) (Suiyōbi)
  • もくようび木曜日 – วันพฤหัสบดี (โมะกุโยบิ) (Mokuyōbi)
  • きんようび金曜日 – วันศุกร์ (คินโยบิ) (Kin'yōbi)
  • どようび土曜日 – วันเสาร์ (โดะโยบิ) (Doyōbi)
  • にちようび日曜日 – วันอาทิตย์ (นิชิโยบิ) (Nichiyōbi)
  • しゅう – สัปดาห์ (ชู) (Shū)
  • (สัปดาห์ที่แล้ว: เซ็นชู, สัปดาห์นี้: คนชู, สัปดาห์หน้า: ไรชู) (Senshū,Konshū,Raishū)
  • いっしゅうかん一週間 – หนึ่งสัปดาห์ (อิสชูกัง) (Isshū kan)

สภาพอากาศ

  • たいよう太陽 – ดวงอาทิตย์ (ไทโย)
  • つき – ดวงจันทร์ (สึกิ)
  • ほし – ดาว (โฮะชิ)
  • てんき天気 – สภาพอากาศ (เท็งกิ)
  • はれ晴れ – อากาศปลอดโปร่ง (ฮะเระ)
  • あめ – ฝน (อะเมะ)
  • くもり曇り – มีเมฆมาก (คุโมะริ)
  • ゆき – หิมะ (ยุกิ)
  • かぜ – ลม (คะเซะ)
  • かみなり – ฟ้าฝ่า, ฟ้าแลบ (คะมินะริ)
  • たいふう台風 – พายุไต้ฝุ่น (ไทฟู)
  • あらし – พายุ (อะระชิ)
  • そら – ท้องฟ้า (โซะระ)

ทิศทางและที่ตั้ง

  • きた – ทิศเหนือ (คิตะ)
  • ひがし – ทิศตะวันออก (ฮิงะชิ)
  • みなみ – ทิศใต้ (มินะมิ)
  • にし西 – ทิศตะวันตก (นิชิ)
  • ここ – ที่นี่ (โกะโกะ)
  • そこ – ที่นั่น (โซะโกะ)
  • あそこ – ตรงนั้น (อะโซะโกะ)
  • みぎ – ขวา (มิงิ)
  • ひだり – ซ้าย (ฮิดะริ)
  • うえ – บน, ขึ้น (อุเอะ)
  • した – ล่าง, ลง (ชิตะ)
  • まえ – ด้านหน้า (มะเอะ)
  • うしろ – ด้านหลัง (อุชิโระ)
  • むこう向こう – ด้านอื่น, ด้านตรงข้าม (มุโก)
  • ななめ斜め – แนวทแยง (นะนะเมะ)
  • てまえ手前 – ใกล้, อยู่ด้านหน้า (เทะมะเอะ)
  • おく – ข้างในสุด (โอะกุ)
  • ちかい近い – ใกล้ ,ชิด (ชิไก)

วัสดุ

  • みず – น้ำ (มิซุ)
  • – น้ำร้อน (ยุ)
  • こおり – น้ำแข็ง (โคริ)
  • ゆげ湯気 – ไอน้ำ (ยุเงะ)
  • – ไฟ (ฮิ)
  • ガス – แก๊ส (กะสุ)
  • くうき空気 – อากาศ, บรรยากาศ (คูกิ)
  • つち – โลก, พื้น (สึชิ)
  • きんぞく金属 – โลหะ (คินโซะกุ)
  • どろ – โคลน, ดินเหนียว, ปูนปลาสเตอร์ (โดะโระ)
  • けむり – ควัน, ยาสูบ, ฝิ่น (เคะมุริ)
  • てつ – เหล็ก [Fe] (เทะสึ)
  • どう – ทองแดง [Cu] (โด)
  • きん – ทองคำ [Au]; เงิน (คิง)
  • ぎん – เงิน [Ag]; ความมั่งคั่ง (กิง)
  • なまり – ตะกั่ว [Pb] (นะมะริ)
  • しお – เกลือ [NaCl] (ชิโอะ)

น้ำหนักและมาตรา

  • メートル – เมตร (เมโตะรุ)
  • リットル – ลิตร (ริตโตะรุ)
  • グラム – กรัม (กุระมุ)
  • キロ – กิโล- (คิโระ)
  • ミリ – มิลลิ- (มิริ)
  • センチメートル, センチ – เซ็นติเมตร (เซ็นชิเมโตะรุ หรือ เซ็นชิ)
  • インチ – นิ้ว (อินชิ)

สังคม

  • しゃかい社会 – สังคม (ชะไก)
  • けいざい経済 – เศรษฐกิจ, เศรษฐศาสตร์ (เคไซ)
  • かいしゃ会社 – บริษัท (ไคชะ)
  • かいぎ会議 – การประชุม (ไคงิ)
  • がっこう学校 – โรงเรียน (กักโก)
  • やくしょ役所 – สำนักงานรัฐบาลท้องถิ่น (ยะกุโชะ)
  • みせ – ร้านค้า (มิเซะ)
  • ホテル – โรงแรม (โฮะเตะรุ)
  • こうじょう工場 – โรงงาน (โคโจ)
  • かね – เงิน(คะเนะ โดยทั่วไปมักใช้ โอะกะเนะ)
  • さつ – ธนบัตร [ของเงิน เช่น ธนบัตรใบละหนึ่งร้อยเยน] (ซะสึ)
  • こぜに小銭 – เหรียญเล็ก (โคะเซะนิ)
  • つりせん釣り銭おつりお釣り – เงินทอน (สึริเซ็ง), เงินทอน (โอะสึริ)
  • じどうはんばいき自動販売機 – เครื่องหยอดเหรียญ, สล็อตแมชชีน (จิโดฮัมไบกิ)
  • きっぷ切符 – ตั๋ว (การขนส่งสาธารณะ, เบี้ยปรับ) (คิปปุ)
  • きって切手 – แสตมป์ (คิตเตะ)

สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

บ้าน

  • つくえ – โต๊ะ (สึกุเอะ)
  • いす椅子 – เก้าอี้ (อิซุ)
  • たたみ – เสื่อทาทามิ (ทะตะมิ)
  • – ประตูเลื่อน (โทะ)
  • とびら – แผงประตู (โทะบิระ)
  • ドア – ประตูสวิง (โดะอะ)
  • まど – หน้าต่าง (มะโดะ)
  • ふとん布団 – ฟูก (ฟุตง)
  • げんかん玄関 – ทางเข้า (เก็งกัง)
  • いえ – บ้าน (อิเอะ)
  • エレベーター – ลิฟต์ (เอะเระเบตา)
  • エスカレーター – บันไดเลื่อน (เอะสุกะเรตา)
  • でんき電気 – ไฟฟ้า (เด็งกิ)

เครื่องมือ

  • くぎ – ตะปู (คุงิ)
  • ひも – เชือก (ฮิโมะ)
  • なわ – เชือก (นะวะ)
  • ふくろ – ถุง (ฟุกุโระ)
  • かばん – กระเป๋า (คะบัง)
  • かさ – ร่ม, ร่มกันแดด (คะซะ)
  • かぎ – กลอนประตู, กุญแจ (คะงิ)
  • ちょうこく彫刻 – รูปปั้น, งานแกะสลัก (โชโกะกุ)

เครื่องเขียน

เสื้อผ้า

  • ふく – เสื้อผ้า (ฟุกุ)
  • ようふく洋服 – เสื้อผ้าแบบตะวันตก (โยฟุกุ)
  • きもの着物 – ชุดกิโมโน (คิโมะโนะ)
  • わふく和服 – เสื้อผ้าแบบญี่ปุ่น (วะฟุกุ)
  • そで – แขนเสื้อ (โซะเดะ)
  • えり – ปกเสื้อ (เอะริ)
  • ボタン – กระดุมเสื้อ (โบะตัง)
  • チャックファスナージッパー – ซิป (ชักกุ, ฟะซุนา, จิปปา)
  • ベルト – เข็มขัด (เบะรุโตะ)
  • くつ – รองเท้า (คุสึ)
  • くつした靴下 – ถุงเท้า (คุสึชิตะ)
  • めがね眼鏡 – แว่นตา (เมะงะเนะ)

การขนส่ง

ภาษา

  • もじ文字 – อักษร (โมะจิ)
  • – ตัวอักษร (จิ)
  • かんじ漢字 – คันจิ (ตัวอักษรจีน) (คันจิ)
  • ひらがな平仮名 – ตัวอักษรฮิระงะนะ (ฮิระงะนะ)
  • カタカナ片仮名 – ตัวอักษรคะตะคะนะ (คะตะกะนะ)
  • すうじ数字 – ตัวเลข (ซูจิ)
  • アルファベット – ตัวอักษรอัลฟาเบต (อะรุฟะเบ็ตโตะ)
  • ローマ字 – ตัวอักษรโรมัน, ละติน (โรมะจิ)

สื่อ

  • ほん – หนังสือ (ฮง)
  • かみ – กระดาษ (คะมิ)
  • てがみ手紙 – จดหมาย (เทะงะมิ)
  • しんぶん新聞 – หนังสือพิมพ์ (ชิมบุง)
  • じしょ辞書 – พจนานุกรม (จิโชะ)
  • パソコン – คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พะโซะกง)

สี

อื่น ๆ

ตัวเลข

  • れいゼロ – ศูนย์ (เร, เซะโระ)
  • いち – หนึ่ง (อิชิ)
  • – สอง (นิ)
  • さん – สาม (ซัง)
  • よん – สี่ (ยง, ชิ)
  • – ห้า (โกะ)
  • ろく – หก (โระกุ)
  • ななしち – เจ็ด (นะนะ, ชิชิ)
  • はち – แปด (ฮะชิ)
  • きゅう – เก้า (คีว, คุ)
  • じゅう – สิบ (จู)
  • ひゃく – ร้อย (เฮียะกุ)
  • せん – พัน (เซ็ง)
  • まん – หมื่น (มัง)
  • おく – หนึ่งร้อยล้าน (โอะกุ)
  • ひとつ一つ – หนึ่ง, ของหนึ่งสิ่ง (ฮิโตะสึ)
  • ふたつ二つ – สอง, ของสองสิ่ง (ฟุตะสึ)
  • みっつ三つ – สาม, ของสามสิ่ง (มิตสึ)
  • よっつ四つ – สี่, ของสี่สิ่ง (ยตสึ)
  • いつつ五つ – ห้า, ของห้าสิ่ง (อิสึสึ)
  • むっつ六つ – หก, ของหกสิ่ง (มุตสึ)
  • ななつ七つ – เจ็ด, ของเจ็ดสิ่ง (นะนะสึ)
  • やっつ八つ – แปด, ของแปดสิ่ง (ยัตสึ)
  • ここのつ九つ – เก้า, ของเก้าสิ่ง (โคะโกะโนะสึ)
  • とお – สิบ, ของสิบสิ่ง (โท)

อาการนาม

  • これ – นี้, มัน (โคะเระ)
  • それ – นั้น (โซะเระ)
  • あれ – โน่น (อะเระ)
  • どれ – ไหน (โดะเระ)
  • こちらこっち – ทางนี้, สิ่งนี้, คนนี้, หรือที่นี่ (โคะชิระ, คตชิ)
  • そちらそっち – ทางนั้น, สิ่งนั้น, คนนั้น, หรือที่นั้น (โซะชิระ, ซตชิ)
  • あちらあっち – ทางโน้น, สิ่งโน้น, คนโน้น, หรือที่โน้น (อะชิระ, อัตชิ)
  • どちらどっち – ทางไหน, สิ่งไหน, คนไหน, หรือคนไหน (โดะชิระ, ดตชิ)
  • ひみつ秘密 – ความลับ (ฮิมิสึ)
  • じどう自動 – อัตโนมัติ (จิโด)
  • ないよう内容 – เนื้อหา (ไนโย)
  • はば – hem, piece, strip (ฮะบะ)
  • せいしき正式 – พิธีการ (เซชิกิ)
  • けっこん結婚 – แต่งงาน (เค็กกง)
  • げんざい現在 – ตอนนี้ (เก็นไซ)
  • いま – ตอนนี้ (อิมะ)
  • かこ過去 – อดีต (คะโกะ)
  • みらい未来 – อนาคต (มิไร)

คำคุณศัพท์

เป็นรูปแบบ

ความรู้สึก

คำกริยา

  • する – ทำ (ซุรุ)
  • やる – ทำ (ยะรุ)

การมีอยู่

  • いる – มีอยู่ [ใช้กับสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนไหว] (อิรุ)
  • ある – มีอยู่ [ใช้กับสิ่งไม่มีชีวิต รวมพืช] (อะรุ)
  • なる – กลายเป็น (นะรุ)
  • おこる起こる興る – ปลุก (โอะโกะรุ)
  • 現れる, あらわれる – ปรากฏ (อะระวะเระรุ)
  • いきる生きる – อยู่ (อิคิรุ)
  • うむ生む産む – เกิด (อุมุ)
  • しぬ死ぬ – ตาย (ชินุ)
  • 壊れる, こわれる – พัง, เสีย [สิ่งของ] (โคะวะเระรุ)

การเคลื่อนไหว

การดำเนิน

การเปลี่ยนแปลง

การรับสัมผัส

คำพูด

การทำงาน

อารมณ์

กิจกรรม

  • あう会う – การพบปะ (อะอุ)
  • あける開ける – เปิดสกรรม, แกะสกรรม (อะเคะรุ)
  • あそぶ遊ぶ – เล่น (อะโซะบุ)
  • あつまる集まる – รวมกัน, ชุมนุมกันอกรรม (อะสึมะรุ)
  • うる売る – ขาย (อุรุ)
  • える得る – ได้รับ [ผลประโยชน์บางอย่าง หรือ ความรู้] (เอะรุ)
  • おる折る – หักสกรรม, พับสกรรม (โอะรุ)
  • かう買う – ซื้อ (คะอุ)
  • きる切る – ตัด (คิรุ)
  • きる着る – สวมใส่ [ในร่างกายท่อนบน] (คิรุ)
  • はく履く – สวมใส่ [ในร่างกายท่อนล่าง] (ฮะคุ)
  • かえる変える – เปลี่ยนสกรรม (คะเอะรุ)
  • かえる代える – แลกเปลี่ยน, แทน, แทนที่ (คะเอะรุ)
  • しめる閉める – ใกล้สกรรม (ชิเมะรุ)
  • しめる締める – ยึด, ตรึง (ชิเมะรุ)
  • しめる占める – ประกอบด้วย, อธิบาย (ชิเมะรุ)
  • しる知る – รู้ (ชิรุ)
  • つかれる疲れる – เบื่อหน่าย (สึกะเระรุ)
  • でかける出掛ける – ออกจาก, จากไป (เดะคะเคะรุ)
  • はたらく働く – ทำงาน (ฮะตะระคุ)
  • はなす放す離す – แยก (ฮะนะซุ)
  • やすむ休む – ผ่อนคลาย, พักผ่อน, เข้านอน (ยะซุมุ)
  • わかれる分かれる – แบ่งออกเป็นอกรรม, ผ่า (วะคะเระรุ)
  • わかれる別れる – แบ่งอกรรม, แยกอกรรม, แหลกอกรรม (วะกะเระรุ)
สกรรม การรับรู้ซึ่งสกรรมกริยา
อกรรม การรับรู้ซึ่งอกรรมกริยา
ควบคู่กับ กริยา อุ-

คำกริยาวิเศษณ์

  • もう – แล้ว(โม)
  • まだ – ยังคง, ยัง (มะดะ)
  • ずっと – ตลอดไป (ซุตโตะ)
  • とても – มาก ๆ (โตะเตะโมะ)
  • こう – เหมือนนี้ (โค)
  • そう – เหมือนนั้น (โซ)
  • ああ – โอ้!, อ้า! (อา)
  • どう – อย่างไร (โด)
  • しばしば – ปกติ (ชิบะชิบะ)

คำคุณศัพท์หน้าคำนาม

  • この – นี้ (โคะโนะ)
  • その – นั้น (โซะโนะ)
  • あの – โน้น (อะโนะ)
  • どの – ไหน (โดะโนะ)

คำอุทาน

  • はい – ใช่ (ไฮ)
  • いいえ – ไม่ใช่ (อี่เอะ)

คำสันธาน

  • でも - แต่ (เดะโมะ)
  • しかし – แต่, อย่างไรก็ตาม (ชิกะชิ)
  • そして – และต่อไป, ต่อไป… (โซะชิเตะ)
  • それに – นอกเหนือจาก, อนึ่ง (โซะเระนิ)
  • なぜなら – นั่นเป็นเพราะ, เป็นเพราะ (นะเซะนะระ)

การสิ้นสุดของคำกริยา

  • よう – จบการตั้งใจ [う ใช้สำหรับ กริยา อุ- และ よう ใช้สำหรับ กริยา รุ-]: "…กันเถอะ" หรือ "ฉันจะ" (อุ, โย)
  • せるさせる – จบสาเหตุ [せる ใช้สำหรับ กริยา อุ-, させる ใช้สำหรับ กริยา รุ-]: ทำ[ใครทำอะไร], to allow (เซะรุ, ซะเซะรุ)
  • れるられる – passive verb ending [れる for u-verbs, られる for ru-verbs]: to be <verbed> [e.g., 食べられる, "to be eaten"] (เระรุ, ระเระรุ)
  • そうだ – indicates that it seems the verb occurs [e.g., "It seems he ate"] (โซดะ)
  • – informal past-tense (ตะ)
  • たい – indicates desire to perform verb (ไต)
  • だろう – indicates that it seems the verb occurs; also used to ask whether the verb occurs (ดะโร)
  • ない, – informal negative (ไน, ) [ん is a slurred version and sounds a little masculine]
  • – archaic informal negative ["he hath", "thou didst", etc.] (นุ)
  • ます – formal non-past ending (มะซุ)

อนุภาค

การก

  • – แต่ (งะ)
  • – ที่, โดย (เดะ)
  • – และ, ด้วย (โตะ)
  • – เครื่องหมายกรรมรอง (นิ)
  • – ของ (โนะ)
  • – ถึง (เอะ) [หมายเหตุ: へ ในปกติจะอ่านว่า เฮะ แต่เมื่อนำมาใช้ในประโยคลักษณะนี้ให้เปลี่ยนการอ่านเป็น เอะ]
  • まで – ถึง, จนถึง (มะเดะ)
  • から – จาก (คะระ)
  • より – กว่า (การเปรียบเทียบ) (โยะริ)
  • – เครื่องหมายกรรมตรง (โอะ)

คำเชื่อม

  • – เครื่องหมายหัวข้อ (วะ) [หมายเหตุ: "は" ตามปกติมักออกเสียงเป็น "ฮะ" แต่จะออกเสียงเป็น "วะ" เมื่อถูกใช้ในส่วนนี้]
  • – อีกด้วย (โมะ)
  • – และ (ยะ)

คำสันธาน

  • および及び – และ (โอะโยะบิ)
  • – หรือไม่ (กะ)
  • かも – น่าจะ, possible that (กะโมะ)
  • そして – and then (โซะชเตะ)
  • それとも – หรือ (โซะเระเตะโมะ)
  • だの – things like <list of things>, including, such things as (ดะโนะ)
  • つつ – ongoing occurrence (สึสึ) [similar to ながら but has different tone, and both actions have equal weight]
  • เตะ form of verb or adjective [see explanation]
  • – when, if, that (โตะ)
  • ながら – while, though, both (นะงะระ)
  • ならびに – as well as (นะระบินิ)
  • なり – whether or not (นะริ)
  • – to <somewhere>, by <someone> (นิ)
  • – แสดงความเป็นเจ้าของ (โนะ)
  • ので – ดังนั้น (โนะเดะ)
  • また – เช่นกัน, อีกครั้ง (มะตะ)
  • または又は – or alternatively (มะตะวะ)
  • – also, too (โมะ)
  • – และ (ยะ)

คำท้ายประโยค

  • – การย้ำและเครื่องหมายคำถาม, เทียบเท่ากับคำว่า "ใช่หรือไม่" (เนะ)
  • – เครื่องหมายคำถาม (กะ)
  • – ส่วนที่เชื่อมใช้หลังคำคุณศัพท์กึ่ง ๆ (นะ)
  • かしら – ฉันรู้สึกประหลาดใจ (กะชิระ)
  • – -ภาวะ, สภาพ (ซะ)
  • っけ – ส่วนที่แสดงว่าผู้พูดต้องการเรียกคืนข้อมูลบางส่วน ["คลาสถัดไปคืออะไร -คเคะ"] (-คเคะ)

กริยาวิเศษณ์

  • こそ – การเน้นย้ำ, ความสำคัญ (โคะโซะ)
  • さえ – even (ซะเอะ)
  • しか – เฉพาะ (ชิกะ)
  • すら – even (ซุระ)
  • くらいぐらい – โดยประมาณ (คุระอิ)
  • だけ – only, as much as (ดะเคะ)
  • だって – however (ดัตเตะ)
  • ったら – casual topic marker (ตตะระ) [colloquial form of to ittara (if you refer to ~; as for ~]
  • って – said that (ตเตะ)
  • でも – also, or (เดะโมะ)
  • どころ – (particle used to indicate that what precedes it is an extreme example and strongly negates it) (โดะโกะโระ)
  • など – for example (นะโดะ)
  • なら – if [for verbs]; subject marker [for nouns] (นะระ)
  • なんか – casual undervalue, dislike, lack (นังกะ)
  • なんて – casual undervalue, dislike, lack (นันเตะ)
  • – topic marker (วะ) [although ha is the hiragana used, wa is the pronunciation)
  • ばかりばっかり – just, full of, only (บะคะริ)
  • まで – until (มะเดะ)
  • – too, also (โมะ)