麦
|
|
ภาษาร่วม
แก้ไขอักษรจีน
แก้ไข麦 (รากคังซีที่ 199, 麦+0, 7 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 手一竹水 (QMHE), การป้อนสี่มุม 50247, การประกอบ ⿱龶夂)
- ข้าวสาลี, ข้าวบาร์เลย์, ข้าวโอ๊ต
- รากอักษรจีนที่ 199 รูปแบบตัวย่อ
อ้างอิง
แก้ไข- พจนานุกรมคังซี: หน้า 1512 อักขระตัวที่ 9
- พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 47718
- พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 2041 อักขระตัวที่ 2
- พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 7 หน้า 4600 อักขระตัวที่ 2
- ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+9EA6
ภาษาจีน
แก้ไขสำหรับการออกเสียงและความหมายของ 麦 ▶ ให้ดูที่ 麥 (อักขระนี้ 麦 คือรูป ตัวย่อ ของ 麥) |
หมายเหตุ:
|
การออกเสียง
แก้ไข- จีนกลาง
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ㄇㄞˋ
- ทงย่งพินอิน: mài
- เวด-ไจลส์: mai4
- เยล: mài
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: may
- พัลลาดีอุส: май (maj)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /maɪ̯⁵¹/
- (จีนมาตรฐาน)+
- กวางตุ้ง
- (Standard Cantonese, Guangzhou–Hong Kong)
- Jyutping: mak6
- Yale: mahk
- Cantonese Pinyin: mak9
- Guangdong Romanization: meg6
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา (key): /mɐk̚²/
- (Standard Cantonese, Guangzhou–Hong Kong)
ภาษาญี่ปุ่น
แก้ไข麦 | |
麥 |
คันจิ
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (โตเกียว) むぎ [múꜜgì] (อาตามาดากะ – [1])[2][3]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [mɯ̟ᵝɡʲi]
คำนาม
แก้ไข麦 (mugi)
อ้างอิง
แก้ไข- 1 2 2531 (1988), 国語大辞典(新装版) (Kokugo Dai Jiten, ฉบับปรับปรุงใหม่) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง
- ↑ Matsumura, Akira, editor (2006) 大辞林 [Daijirin], Third edition, w:Tokyo: w:Sanseidō, →ISBN
- ↑ NHK Broadcasting Culture Research Institute, editor (1998) ja:NHK日本語発音アクセント辞典 [NHK Japanese Pronunciation Accent Dictionary], w:Tokyo: NHK Publishing, Inc., →ISBN