絵
|
ภาษาร่วม
แก้ไขอักษรจีน
แก้ไข絵 (รากคังซีที่ 120, 糸+6, 12 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 女火人一戈 (VFOMI), การป้อนสี่มุม 28931, การประกอบ ⿰糸会(JK) หรือ ⿰糹会(GT))
อ้างอิง
แก้ไข- พจนานุกรมคังซี: ไม่ได้นำเสนอไว้ แต่ควรจะเป็น หน้า 924 อักขระตัวที่ 16
- พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 27464
- พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 1359 อักขระตัวที่ 15
- พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): ไม่ได้นำเสนอไว้ แต่ควรจะเป็น เล่ม 5 หน้า 3394 อักขระตัวที่ 10
- ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+7D75
ภาษาจีน
แก้ไขตัวย่อและตัวเต็ม |
絵 |
---|
การออกเสียง
แก้ไข- จีนกลาง
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ㄏㄨㄟˋ
- ทงย่งพินอิน: huèi
- เวด-ไจลส์: hui4
- เยล: hwèi
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: huey
- พัลลาดีอุส: хуэй (xuej)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /xu̯eɪ̯⁵¹/
- (จีนมาตรฐาน)+
ความหมาย
แก้ไขสำหรับการออกเสียงและความหมายของ 絵 ▶ ให้ดูที่ 繪 (อักขระนี้ 絵 คือรูป the former (1935–1936) ROC simplified, former (1969–1976) Singaporean simplified, and variant ของ 繪) |
ภาษาญี่ปุ่น
แก้ไข絵 | |
繪 |
คันจิ
แก้ไข絵
(เคียวอิกูกันจิระดับ 2, ชินจิไตกันจิ, รูปคีวจิไต繪)
การอ่าน
แก้ไข- โกอง: え (e, Jōyō)←ゑ (we, historical)
- คังอง: かい (kai, Jōyō)←くわい (kwai, historical)
- คุง: えがく (egaku, 絵く)
รากศัพท์ 1
แก้ไขคันจิในศัพท์นี้ |
---|
絵 |
え ระดับ: 2 |
อนโยมิ |
การสะกดแบบอื่น |
---|
繪 (คีวจิไต) |
/we/ → /e/
จากภาษาจีนยุคกลาง 繪 (yuaih, สร้างขึ้นใหม่โดยนักภาษาศาสตร์บางคนเป็น ɦuɑiH).
เป็นการอ่านแบบโกะองจีงน่ามาจากการยืม(อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลเกี่ยวกับรากศัพท์นี้ (+) ได้ไหม)
รูปแบบอื่น
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (โตเกียว) え [éꜜ] (อาตามาดากะ – [1])[1]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [e̞]
คำนาม
แก้ไขรากศัพท์ 2
แก้ไขคันจิในศัพท์นี้ |
---|
絵 |
かい ระดับ: 2 |
คังอง |
การสะกดแบบอื่น |
---|
繪 (คีวจิไต) |
จากภาษาจีนยุคกลาง 繪 (MC hwajH).
การออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ka̠i]