あそこ
ภาษาญี่ปุ่น
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขการสะกดแบบอื่น |
---|
彼処 |
แผลงจากคำเดิม あしこ (ashiko). รูป asoko เริ่มปรากฏใน うつほ物語 (Utsubo Monogatari) ในปลายคริสต์ทศวรรษที่ 900 ช่วงยุคเฮอัง[1]
การออกเสียง
แก้ไข- (โตเกียว) あそこ [àsókó] (เฮบัง – [0])[2]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [a̠so̞ko̞]
คำสรรพนาม
แก้ไขあそこ (asoko)
การใช้
แก้ไขดูเพิ่ม
แก้ไขคำสรรพนามบ่งชี้ภาษาญี่ปุ่น
ko- “นี่” (ใกล้ผู้พูด) |
so- “นั่น” (ใกล้ผู้ฟัง) |
a- “โน่น” (ไกลจากทั้งสอง) |
do- “ไหน,ใด” (ไม่เจาะจง, คำถาม) | |
---|---|---|---|---|
สิ่งของ | これ (kore) | それ (sore) | あれ (are) | どれ (dore) |
これら (korera) | それら (sorera) | あれら (arera) | — | |
ตัวบ่งชี้ | この (kono) | その (sono) | あの (ano) | どの (dono) |
これらの (korera no) | それらの (sorera no) | あれらの (arera no) | — | |
แบบ | こんな (konna) | そんな (sonna) | あんな (anna) | どんな (donna) |
สถานที่ | ここ (koko) | そこ (soko) | あそこ (asoko)* | どこ (doko) |
こっから (kokkara) | そっから (sokkara) | — | どっから (dokkara) | |
ทิศทาง | こちら (kochira) | そちら (sochira) | あちら (achira) | どちら (dochira) |
こっち (kotchi) | そっち (sotchi) | あっち (atchi) | どっち (dotchi) | |
คน | こいつ (koitsu) | そいつ (soitsu) | あいつ (aitsu) | どいつ (doitsu) |
こちら様 (kochirasama) | そちら様 (sochirasama) | あちら様 (achirasama) | どちら様 (dochirasama) | |
อย่าง | こう (kō) | そう (sō) | ああ (ā)** | どう (dō) |
ระดับ | こんくらい (konkurai) | そんくらい (sonkurai) | あんくらい (ankurai) | どんくらい (donkurai) |
こんだけ (kondake) | そんだけ (sondake) | あんだけ (andake) | どんだけ (dondake) | |
* ผิดปกติ ** ตามปกติ (สระเสียงยาว) |
อ้างอิง
แก้ไข- ↑ 2531 (1988), 国語大辞典(新装版) (Kokugo Dai Jiten, ฉบับปรับปรุงใหม่) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง
- ↑ Matsumura, Akira, editor (2006) 大辞林 [Daijirin], Third edition, w:Tokyo: w:Sanseidō, →ISBN
- ↑ 2002, 京阪系アクセント辞典 (A Dictionary of Tone on Words of the Keihan-type Dialects) (in Japanese), Tōkyō: Bensei, →ISBN