ดูเพิ่ม: , ท., ทิ, ที, ทุ, ทู, และ ทู่

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *diːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับลาว ທີ່ (ที่), คำเมือง ᨴᩦ᩵ (ที่), ไทลื้อ ᦑᦲᧈ (ที่), ไทดำ ꪕꪲ꪿ (ติ่̱), ไทขาว ꪕꪲꫀ, ไทใหญ่ တီႈ (ตี้), ไทใต้คง ᥖᥤ (ตี), พ่าเก တီ (ตี), อาหม 𑜄𑜣 (ตี), จ้วง deih, จ้วงแบบจั่วเจียง thi; นอกกลุ่มภาษาไท-กะได: เทียบมอญ-เขมรดั้งเดิม *tiʔ ~ tiiʔ ~ tiəʔ, มอญ တေံ (เตํ), เขมร ទី (ที), เวียดนาม thì

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ที่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtîi
ราชบัณฑิตยสภาthi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰiː˥˩/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

ที่

  1. แหล่ง, ถิ่น
    ที่ประกอบอาชีพ
    ที่ทำมาหากิน
  2. สถานที่
    ที่ประชุม
    ที่พัก
  3. ตำแหน่งแห่งที่
    เอาของวางไว้ให้ถูกที่
  4. ที่ดิน
    ซื้อที่
    ขายที่
    เช่าที่
  5. เครื่องใช้
    ที่นอน
    ที่เขี่ยบุหรี่
  6. ตำแหน่งหน้าที่
    ที่สมุหพระกลาโหม
    พระราชาคณะชั้นสามัญที่พระกวีวรญาณ

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำลักษณนาม

แก้ไข

ที่

  1. ลักษณนามบอกสถานที่หรือสิ่งของเป็นชุดเป็นต้น
    ที่นั่ง 3 ที่
    อาหาร 3 ที่

คำสรรพนาม

แก้ไข

ที่

  1. คำใช้แทนคำนามหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้า
    คนที่ขยัน
    เด็กที่ฉลาด

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ที่

  1. คำนำหน้าคำบอกลำดับ
    ที่ 1
    ที่ 2

คำบุพบท

แก้ไข

ที่

  1. อยู่ที่บ้าน

ลูกคำ

แก้ไข