ดูเพิ่ม: คา, ค่า, ค่ำ, ค้า, ค้ำ, และ ค๊า

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์คำ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkam
ราชบัณฑิตยสภาkham
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰam˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข
 
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɡamᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨣᩤᩴ (คาํ), ภาษาลาว ຄຳ (คำ), ภาษาไทลื้อ ᦅᧄ (คัม), ภาษาไทดำ ꪁꪾ (ก̱ำ), ภาษาจ้วงใต้ kaemz

คำนาม

แก้ไข

คำ (คำลักษณนาม คำ)

  1. เสียงพูด
  2. (ไวยากรณ์) เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว
  3. ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น
    คำนาม
    คำกริยา
    คำบุพบท
ลูกคำ
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

คำลักษณนาม

แก้ไข

คำ

  1. ลักษณนามของเสียงพูด
    พูดคำหนึ่ง
  2. บอกจำพวกของเคี้ยวของกิน
    ข้าวคำหนึ่ง
  3. เรียก 2 วรรคของคำกลอนว่า คำหนึ่ง

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

จากภาษาจีนเก่า (OC *krɯm); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨤᩣᩴ (ฅาํ), ภาษาลาว ຄຳ (คำ), ภาษาไทลื้อ ᦆᧄ (ฅัม), ภาษาไทดำ ꪁꪾ (ก̱ำ), ภาษาไทขาว ꪅꪝꪾ, ภาษาไทใหญ่ ၶမ်း (ขั๊ม), ภาษาอาหม 𑜁𑜪 (ขํ) หรือ 𑜁𑜞𑜪 (ขฺรํ), ภาษาจ้วง gim, ภาษาแสก กฺั๊ม

รูปแบบอื่น

แก้ไข
  • (เลิกใช้) ฅำ

คำนาม

แก้ไข

คำ

  1. ทองคำ
คำพ้องความ
แก้ไข
ดูที่ อรรถาภิธาน:ทอง
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

ภาษาเขมรเหนือ

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

เทียบภาษาเขมร ខាំ (ขาํ)

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

คำ

  1. กัด, ขบ

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

คำ

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨤᩣᩴ (ฅาํ)