ดูเพิ่ม: เสี่ยง และ เสี้ยง

ภาษาไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siəŋᴬ¹ (Jonsson, 1991), จากภาษาจีนยุคกลาง (MC syeng)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈ᩠ᨿᨦ (สยง), ภาษาลาว ສຽງ (สย̂ง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉᧂ (เสง), ภาษาไทดำ ꪎꪸꪉ (สย̂ง), ภาษาไทขาว ꪎꪸꪉ, ภาษาไทใหญ่ သဵင် (เสง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥥᥒᥴ (เส๋ง), ภาษาอ่ายตน ꩬိင် (สิง์), ภาษาพ่าเก ꩬိင် (สิง์), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜂𑜫 (สิง์); เกี่ยวข้องกับ สำเนียง

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เสียง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsǐiang
ราชบัณฑิตยสภาsiang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/sia̯ŋ˩˩˦/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

เสียง (คำลักษณนาม เสียง)

  1. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู
    เสียงฟ้าร้อง
    เสียงเพลง
    เสียงพูด
  2. ความเห็น
    เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง
  3. ความนิยม
    คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
  4. คะแนนเสียง
    ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก

ดูเพิ่ม

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

เสียง

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩈ᩠ᨿᨦ (สยง)