ภาษาพ่าเก แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siəŋᴬ¹ (Jonsson, 1991), จากภาษาจีนยุคกลาง (MC syeng); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสียง, ภาษาคำเมือง ᩈ᩠ᨿᨦ (สยง), ภาษาลาว ສຽງ (สย̂ง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉᧂ (เสง), ภาษาไทดำ ꪎꪸꪉ (สย̂ง), ภาษาไทขาว ꪎꪸꪉ, ภาษาไทใหญ่ သဵင် (เสง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥥᥒᥴ (เส๋ง), ภาษาอ่ายตน ꩬိင် (สิง์), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜂𑜫 (สิง์)

คำนาม แก้ไข

ꩬ︀ိင︀် (สิง์)

  1. เสียง

ภาษาอ่ายตน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siəŋᴬ¹ (Jonsson, 1991), จากภาษาจีนยุคกลาง (MC syeng); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสียง, ภาษาคำเมือง ᩈ᩠ᨿᨦ (สยง), ภาษาลาว ສຽງ (สย̂ง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉᧂ (เสง), ภาษาไทดำ ꪎꪸꪉ (สย̂ง), ภาษาไทขาว ꪎꪸꪉ, ภาษาไทใหญ่ သဵင် (เสง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥥᥒᥴ (เส๋ง), ภาษาพ่าเก ꩬိင် (สิง์), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜂𑜫 (สิง์)

คำนาม แก้ไข

ꩬ︀ိင︀် (สิง์)

  1. เสียง