ดูเพิ่ม: กด, กิด, กีด, กึด, กึ๊ด, กุด, และ กูด

ภาษาไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *katᴰ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨠᩢ᩠ᨯ (กัด), ลาว ກັດ (กัด), ไทลื้อ ᦂᧆ (กัด), ไทดำ ꪀꪰꪒ (กัด), ไทใหญ่ ၵတ်း (กั๊ต);, จ้วง gaet

เทียบลักเกีย kat⁵⁵, มอญ သ္ကိတ် (สฺกิต์, กัด, งับด้วยปาก)[1]

คำกริยา

แก้ไข

กัด (คำอาการนาม การกัด)

  1. (สกรรม) เอาฟันกดไว้โดยแรง เพื่อไม่ให้สิ่งที่กดไว้หลุดไป หรือเพื่อให้เข้าไป ให้ทะลุ หรือให้ฉีกขาด
    กัดสำลีไว้ให้แน่น
    สุนัขกัดเข้าไปถึงกระดูก
    หนูกัดผ้าเป็นรู
  2. (สกรรม) โดยปริยายหมายความว่า ทำให้กร่อนสลายหรือจางไป
    สนิมกัดเหล็ก
    กัดสิวกัดฝ้าออกให้หมด
  3. (สกรรม) โดยปริยายหมายความว่า ทำให้เปื่อยเป็นแผล
    ปูนกัดปาก
    น้ำกัดเท้า
  4. (ภาษาปาก, สกรรม) หาเรื่อง
    เขากัดฉันไม่เลิก
  5. (ภาษาปาก, สกรรม) ทะเลาะวิวาท
    สองคนนี้กัดกันอยู่เรื่อย
  6. (ภาษาปาก, สกรรม) พูดว่า, พูดเหน็บแนม[2]
    ครูคนนี้สอนดีแต่ชอบกัดเด็กอยู่เรื่อย
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข
รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำนาม

แก้ไข

รากศัพท์ 3

แก้ไข
รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำนาม

แก้ไข

กัด

  1. (โบราณ) พิกัด, กำหนด
    ซ้นนกดดค่าพระราชกุมาร
    (มหาชาติคำหลวง)

รากศัพท์ 4

แก้ไข
รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำนาม

แก้ไข

กัด

  1. คำกำกับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข 6

อ้างอิง

แก้ไข
  1. ศิขรินทร์ แสงเพชร. "คำยืมภาษามอญในกฎหมายตราสามดวง". ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย ๒๑๖. ฉบับที่ ๒, ปีที่ ๑, ธันวาคม ๒๕๕๐ - พฤษภาคม ๒๕๕๑.
  2. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 9.

ภาษาเลอเวือะตะวันตก

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กัด

  1. หนาม

ภาษาเลอเวือะตะวันออก

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กัด

  1. หนาม