ดูเพิ่ม: วา และ ว้า

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC hwaejH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ວ່າ (ว่า), ภาษาคำเมือง ᩅ᩵ᩤ (ว่า), ภาษาเขิน ᩅ᩵ᩤ (ว่า), ภาษาไทลื้อ ᦞᦱᧈ (ว่า), ภาษาไทดำ ꪫ꪿ꪱ (ว่า), ภาษาไทใหญ่ ဝႃႈ (ว้า), ภาษาอาหม 𑜈𑜠 (บะ), ภาษาจ้วง vah

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ว่า
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงwâa
ราชบัณฑิตยสภาwa
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/waː˥˩/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงหว้า

คำกริยา

แก้ไข

ว่า (คำอาการนาม การว่า)

  1. (อกรรม) พูด, บอก
    เขาว่า ที่นี่ฝนตกทุกวัน
  2. (สกรรม) ดุ, ติ
    อย่าเอะอะไปเดี๋ยวครูว่าเอา
    ดีแต่ว่าเขา
  3. (สกรรม) ดุด่าว่ากล่าว
    ว่าไม่ได้ ก็เลี้ยงไม่ได้
  4. (สกรรม) ร้อง
    ว่าเพลง
  5. จ้าง, ตกลงให้ทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง
    ไปว่าขนมมาเลี้ยงแขก
  6. เป็นคำใช้แทนกริยาอื่นบางคำได้ เป็นต้นว่าใช้แทนคำว่ากิน, ใช้แทนคำว่า ทำ
    ว่าเสียเรียบ
    ว่าเสียเต็มคราบ
    ว่าเสียเอง

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำสันธาน

แก้ไข

ว่า

  1. คำเชื่อมประโยค; ตัวนําสำนวนเติมเต็ม (complementizer)
    พูดว่า
    คิดว่า
    หมายความว่า
    มีความเห็นว่า

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

ภาษาบีซู

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ว่า ()

  1. หมู