ดูเพิ่ม: ว่า และ ว้า

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์วา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงwaa
ราชบัณฑิตยสภาwa
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/waː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *waːᴬ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩅᩤ (วา), ภาษาเขิน ᩅᩤ (วา), ภาษาลาว ວາ (วา), ภาษาไทลื้อ ᦞᦱ (วา), ภาษาไทขาว ꪫꪱ, ภาษาไทใหญ่ ဝႃး (ว๊า), ภาษาไทใต้คง ᥝᥣᥰ (ว๊า), ภาษาพ่าเก ဝႃ (วา), ภาษาอาหม 𑜈𑜠 (บะ)

คำนาม แก้ไข

วา

  1. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ 4 ศอก มีอัตราเท่ากับ 2 เมตร, อักษรย่อว่า ว.

คำกริยา แก้ไข

วา (คำอาการนาม การวา)

  1. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง 2 ข้าง
คำประสม แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

วา

  1. เพลงปี่พาทย์ทำนองหนึ่ง ใช้บรรเลงก่อนตัวแสดงออกแสดง เพื่อให้ผู้ชมรู้ว่าการแสดงจะเริ่มแล้ว

ภาษาชอง แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *swaaʔ

คำนาม แก้ไข

วา

  1. ลิง

ภาษาบาลี แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

จากภาษาสันสกฤต वा (วา)

คำสันธาน แก้ไข

วา

  1. หรือ

คำอนุภาค แก้ไข

วา

  1. หรือ (ซึ่งปรากฏอยู่โดด ๆ ในคำฉันท์)

คำเกี่ยวข้อง แก้ไข

ภาษามลายูแบบปัตตานี แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

วา

  1. อีกรูปหนึ่งของ وا