ตัว
ภาษาไทย
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (เลิกใช้) ตวว
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ตัว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtuua |
ราชบัณฑิตยสภา | tua | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tua̯˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขยืมมาจากภาษาจีนเก่า 頭 (OC *doː); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲ᩠ᩅᩫ (ตว็), ภาษาอีสาน โต, ภาษาลาว ໂຕ (โต) หรือ ຕົວ (ต็ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦎ (โต), ภาษาไทดำ ꪶꪔ (โต), ภาษาไทขาว ꪔꪺ, ภาษาไทใหญ่ တူဝ် (ตูว), ภาษาไทใต้คง ᥖᥨᥝ (โตว), ภาษาอาหม 𑜄𑜥 (ตู) หรือ 𑜄𑜤 (ตุ), ภาษาจ้วง duz, ภาษาแสก ทั๊ว
คำนาม
แก้ไขตัว (คำลักษณนาม ตัว)
คำพ้องความ
แก้ไข- (ร่างกาย): ดูที่ อรรถาภิธาน:ร่างกาย
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขร่างกาย
คำลักษณนาม
แก้ไขตัว
- ลักษณนามใช้เรียกสัตว์และสิ่งของบางอย่าง
- ม้า 5 ตัว
- ตะปู 3 ตัว
- เสื้อ 2 ตัว
คำสรรพนาม
แก้ไขตัว
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำนาม
แก้ไขตัว (คำลักษณนาม ตัว)
คำลักษณนาม
แก้ไขตัว
- ลักษณนามใช้เรียกตัวเลข
- เลขท้าย 2 ตัว