คน
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | คน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kon |
ราชบัณฑิตยสภา | khon | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰon˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | คนธ์ คล |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɢwɯnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาปักษ์ใต้ ข่น, ภาษาลาว ຄົນ (ค็น), ภาษาคำเมือง ᨤᩫ᩠ᨶ (ฅ็น), ภาษาไทลื้อ ᦅᦳᧃ (คุน), ภาษาไทดำ ꪶꪁꪙ (โก̱น), ภาษาไทขาว ꪁꪴꪙ, ภาษาไทใหญ่ ၵူၼ်း (กู๊น), ภาษาไทใต้คง ᥐᥨᥢᥰ (โก๊น), ภาษาอาหม 𑜀𑜤𑜃𑜫 (กุน์), ภาษาปู้อี wenz, ภาษาจ้วง vunz, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง koenz
คำนาม
แก้ไขคน (คำลักษณนาม คน หรือ หัว หรือ ราย หรือ นาย หรือ ท่าน)
- มนุษย์ คือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Homo sapiens
- คำใช้ประกอบคำนามหรือคำกริยาแสดงว่าเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ง อาการ สภาพ หรือมีลักษณะหรือเป็นอย่างนั้น[1]
- คนข่าว
- คนทีวี
- คนเบื้องหลัง
- คนสวน
- คนส่งของ
- คนขับรถ
- คนเลี้ยงเด็ก
- คนรับใช้
- คนง่อย
- คนพิการ
- คนโกง
ดูเพิ่ม
แก้ไขคำพ้องความ
แก้ไข- ดูที่ อรรถาภิธาน:คน
คำประสม
แก้ไขคำแปลภาษาอื่น
แก้ไขมนุษย์
รากศัพท์ 2
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຄົນ (ค็น), ภาษาไทลื้อ ᦆᦳᧃᧉ (ฅุ้น), ภาษาไทดำ ꪶꪁꪙ (โก̱น), ภาษาไทใหญ่ ၶူၼ်ႉ (ขู๎น), ภาษาอาหม 𑜁𑜤𑜃𑜫 (ขุน์); เทียบภาษาไหลดั้งเดิม *ɦunɦ, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง goenz (กน Longzhou)
คำกริยา
แก้ไขคน (คำอาการนาม การคน)
- กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทำสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ ให้เข้ากัน
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขกวนให้เข้ากัน
อ้างอิง
แก้ไข- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 3 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต, 2554. หน้า 29.
ภาษาคำเมือง
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /xon˧˧/
คำนาม
แก้ไขคน
- อีกรูปหนึ่งของ ᨤᩫ᩠ᨶ (ฅ็น)