ดูเพิ่ม: , ม., มิ, มุ, มู่, และ มู๋

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์มี
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmii
ราชบัณฑิตยสภาmi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/miː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *miːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน มี, ภาษาลาว ມີ (มี), ภาษาคำเมือง ᨾᩦ (มี), ภาษาเขิน ᨾᩦ (มี), ภาษาไทลื้อ ᦙᦲ (มี), ภาษาไทดำ ꪣꪲ (มิ), ภาษาไทใหญ่ မီး (มี๊), ภาษาไทใต้คง ᥛᥤᥰ (มี๊), ภาษาจ้วง miz

คำคุณศัพท์ แก้ไข

มี (คำอาการนาม ความมี)

  1. รวย
    เขาเป็นคนมี ไม่ใช่คนจน
  2. ไม่เปล่า, ไม่ว่าง
    ในหม้อมีข้าว
    ในห้องน้ำมีคน

คำกริยา แก้ไข

มี (คำอาการนาม การมี)

  1. ถือเป็นเจ้าของ, อยู่ในครอบครอง
    มีเงิน
    มีลูก
  2. ประกอบด้วย
    อริยสัจ 4 มี ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
  3. ปรากฏ
    มีดาวหางขึ้นในท้องฟ้า
  4. เกิด
    มีโรคระบาด
  5. คงอยู่
    มีคนอยู่ไหม

คำแปลภาษาอื่น แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ mi (มี, โน้ตดนตรี มี)

คำนาม แก้ไข

 
โน้ตดนตรี มี

มี

  1. (ดนตรี) โน้ตตัวที่สามในสเกลซีเมเจอร์ มีสัญลักษณ์ว่า E

ดูเพิ่ม แก้ไข

อ้างอิง แก้ไข

ภาษาคำเมือง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

มี (คำอาการนาม ก๋ารมี หรือ ก๋านมี)

  1. (อกรรม, สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨾᩦ (มี)