ᨾᩦ
ภาษาเขิน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *miːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย มี, ภาษาคำเมือง ᨾᩦ (มี), ภาษาลาว ມີ (มี), ภาษาไทลื้อ ᦙᦲ (มี), ภาษาไทดำ ꪣꪲ (มิ), ภาษาไทใต้คง ᥛᥤᥰ (มี๊), ภาษาไทใหญ่ မီး (มี๊), ภาษาจ้วง miz
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /miː˧˧/
คำกริยา
แก้ไขᨾᩦ (มี)
ภาษาคำเมือง
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (ถอดอักษรและถอดเสียง) มี
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *miːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย มี, ภาษาเขิน ᨾᩦ (มี), ภาษาลาว ມີ (มี), ภาษาไทลื้อ ᦙᦲ (มี), ภาษาไทดำ ꪣꪲ (มิ), ภาษาไทใต้คง ᥛᥤᥰ (มี๊), ภาษาไทใหญ่ မီး (มี๊), ภาษาจ้วง miz
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /miː˧˧/
คำกริยา
แก้ไขᨾᩦ (มี) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨾᩦ)
- มี (ถือเป็นเจ้าของ, ปรากฏ, คงอยู่)
คำคุณศัพท์
แก้ไขᨾᩦ (มี) (คำอาการนาม ᨣᩤᩴᨾᩦ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨾᩦ)
- มี (รวย, ไม่เปล่า)
คำพ้องความ
แก้ไขรวย
คำตรงข้าม
แก้ไขรวย
อ้างอิง
แก้ไข- พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
ภาษาไทลื้อ
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขᨾᩦ (มี) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨾᩦ)
- อีกรูปหนึ่งของ ᦙᦲ (มี)