ดูเพิ่ม: ลำ, ล่า, ล่ำ, ล้า, และ ล้ำ

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

เทียบจีนยุคกลาง (MC ljo); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩃᩣ (ลา), ลาว ລາ (ลา), ไทลื้อ ᦟᦱ (ลา), ไทใหญ่ လႃး (ล๊า), เขมร លា (ลา)

รูปแบบอื่น

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ลา (คำลักษณนาม ตัว)

  1. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Equus asinus ในวงศ์ Equidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับม้า รูปร่างคล้ายม้าแต่ตัวเล็กกว่า หูยาว ปลายหางเป็นพู่ ขนแผงคอสั้นตั้งตรง มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ลา

  1. (โบราณ) ครั้ง[1]
    คำพ้องความ: ครั้ง, ครา, คราว, ที, เทื่อ, นัด, มื้อ, รอบ, หน
  2. (โบราณ) เท่า[1]
    • 1901, “กฎมณเทิยรบาล”, in ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 จุลศักราช 1166 พิมพ์ตามฉะบับหลวงตรา 3 ดวง, volume 1, พระนคร: มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, published 2482, page 80:
      วิวาทชกตีกันในพระราชวังศาลาลูกขุน โทษ ๔ สถาน ๆ หนึ่งให้ไหมตรีคูน สถานหนึ่งให้ไหมทวีคูน สถานหนึ่งให้ไหมลาหนึ่ง สถานหนึ่งให้ภาคธรรม
  3. เรียกการจบหรือสิ้นสุดลงระยะหนึ่งของพิธีบางอย่างว่า ลาหนึ่ง ๆ
    โห่ 3 ลา
    ย่ำฆ้อง 3 ลา

รากศัพท์ 3

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩃᩣ (ลา), ลาว ລາ (ลา), ไทลื้อ ᦟᦱ (ลา), เขมร លា (ลา)

คำกริยา

แก้ไข

ลา (คำอาการนาม การลา)

  1. จากไปโดยแสดงให้ทราบด้วยกิริยาท่าทาง คำพูด หรือด้วยหนังสือ
  2. ขออนุญาตหยุดงานชั่วคราว
    ลากิจ
    ลาป่วย
    ลาพักผ่อน
    ลาไปศึกษาต่อ
  3. ขอคืนของที่บูชาหรือบนไว้
    ลาข้าวพระภูมิ
    ลาของที่บนไว้

รากศัพท์ 4

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ลา

  1. เตี้ย
    เกยลา
    กี๋ลา
    เตียงลา
    แท่นลา

รากศัพท์ 5

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ลา

  1. มีกลีบชั้นเดียว, ไม่ซ้อน (ใช้แก่ดอกไม้)
    มะลิลา
    พุดลา
    รักลา

รากศัพท์ 6

แก้ไข
โน้ตดนตรี ลา

ยืมมาจากอังกฤษ la (ลา, โน้ตดนตรี ลา)

คำนาม

แก้ไข

ดูเพิ่ม

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  1. 1 2 ราชบัณฑิตยสภา (2563) พจนานุกรมโบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา, กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, pages 284–285

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ลา (คำอาการนาม ก๋ารลา หรือ ก๋านลา)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩃᩣ (ลา)