ตั้ง
ภาษาไทยแก้ไข
รูปแบบอื่นแก้ไข
- (เลิกใช้) ต้งง
รากศัพท์แก้ไข
จากภาษาไทดั้งเดิม *taŋꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲᩢ᩠᩶ᨦ (ตั้ง), ภาษาลาว ຕັ້ງ (ตั้ง), ภาษาไทลื้อ ᦎᧂᧉ (ตั้ง), ภาษาไทใหญ่ တင်ႈ (ตั้ง), ภาษาอาหม 𑜄𑜂𑜫 (ตง์), ภาษาจ้วง daengj
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | ตั้ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtâng |
ราชบัณฑิตยสภา | tang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /taŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำกริยาแก้ไข
ตั้ง (คำอาการนาม การตั้ง)
- ชูตัว, ชูตัวหรือทำให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม
- ขนตั้งชัน
- ต้นข้าวเอนแล้วกลับตั้งขึ้น
- ตั้งขวด
- ตั้งตุ๊กตา
- ทรง, ดำรง
- ตั้งอยู่ในคลองธรรม
- ตั้งอยู่ในศีลในธรรม
- ทำให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น
- ตั้งตำแหน่งใหม่
- ตั้งบ้านตั้งเรือน
- ยกฐานะให้สูงขึ้น
- ตั้งพระราชาคณะ
- ตั้งเปรียญ
- กำหนด
- ตั้งราคา
- วาง
- ตั้งสำรับ
- วางซ้อนกันมาก ๆ
- ตั้งหนังสือเป็นกองสูง
- เริ่ม, เริ่มมี
- ตั้งครรภ์
- ตั้งเค้า
- ตั้งท้อง
คำบุพบทแก้ไข
ตั้ง
คำลักษณนามแก้ไข
ตั้ง
คำนามแก้ไข
ตั้ง
- ครั้ง
- มาลองกันดูสักตั้ง
ภาษาคำเมืองแก้ไข
รากศัพท์ 1แก้ไข
การออกเสียงแก้ไข
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /taŋ˦˦ʔ/
คำกริยาแก้ไข
ตั้ง (คำอาการนาม ก๋ารตั้ง or ก๋านตั้ง)
คำคุณศัพท์แก้ไข
ตั้ง (คำอาการนาม กำตั้ง or ความตั้ง)
- อีกรูปหนึ่งของ ᨲᩢ᩠᩶ᨦ (ตั้ง)
คำลักษณนามแก้ไข
ตั้ง
- อีกรูปหนึ่งของ ᨲᩢ᩠᩶ᨦ (ตั้ง)
รากศัพท์ 2แก้ไข
การออกเสียงแก้ไข
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /taŋ˦˨/
คำนามแก้ไข
ตั้ง
- อีกรูปหนึ่งของ ᨴᩢ᩠᩵ᨦ (ทั่ง)
รากศัพท์ 3แก้ไข
การออกเสียงแก้ไข
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /taŋ˦˨/
คำกริยาแก้ไข
ตั้ง (คำอาการนาม ก๋ารตั้ง or ก๋านตั้ง)
- (สกรรม) {{altform|nod|ᨴᩢ᩠᩵ᨦ}
ภาษาปักษ์ใต้แก้ไข
คำกริยาแก้ไข
ตั้ง (คำอาการนาม ก่านตั้ง)
- วาง
- เป๋าตังค์ตั้งโย่นั้น
- กระเป๋าเงินวางอยู่ตรงนั้น