ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ติ่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtìng
ราชบัณฑิตยสภาting
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tiŋ˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຕິ່ງ (ติ่ง), ภาษาอีสาน ติ่ง

คำนาม แก้ไข

ติ่ง

  1. เนื้อหรือสิ่งเล็กที่งอกหรือยื่นออกมาจากส่วนใหญ่

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ติ่ง (คำลักษณนาม ตัว)

  1. ตุ่น

รากศัพท์ 3 แก้ไข

ตัดมาจาก ติ่งหู ซึ่งเป็นทรงผมของนักเรียนหญิงระดับประถมถึง ม.ต้น โดยผมยาวไม่เกินติ่งหู และเยาวชนในวัยนี้มักจะคลั่งไคล้ดารานักร้องมาก

คำนาม แก้ไข

ติ่ง

  1. (สแลง, ขำขัน, บางครั้ง ดูหมิ่น) ใช้เรียกแฟนคลับที่คลั่งไคล้ศิลปินอย่างผิดหลักมนุษยธรรม

คำกริยา แก้ไข

ติ่ง (คำอาการนาม การติ่ง)

  1. (สแลง, ขำขัน, บางครั้ง) การไปชื่นชมการแสดงของศิลปินนั้นๆ ตามคอนเสิร์ตหรืองานต่างๆ ที่จัดขึ้นในสถานที่หรือผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
    ไปติ่งที่อิมแพ็ค
    ตามติ่งหน้าจอ

คำเกี่ยวข้อง แก้ไข