ดูเพิ่ม: ʼมา และ ม้า

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ʰmaːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨾᩣ (มา), เขิน ᨾᩣ (มา), อีสาน มา, ลาว ມາ (มา), ไทลื้อ ᦙᦱ (มา), ไทดำ ꪣꪱ (มา), ไทขาว ꪝꪱ, ไทใหญ่ မႃး (ม๊า), ไทใต้คง ᥛᥣᥰ (ม๊า), อ่ายตน မႃ (มา), พ่าเก မႃ (มา), อาหม 𑜉𑜠 (มะ) หรือ 𑜉𑜡 (มา) หรือ 𑜉𑜡𑜠 (มาะ), จ้วง maz

คำกริยา

แก้ไข

มา (คำอาการนาม การมา)

  1. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด
    มานี่มาหาฉันหน่อย
    เขาบอกว่าจะมาแล้วไม่มา
  2. ใช้ในการเขียนจดหมายทางการ ใช้แสดงทิศทางสู่ตัวผู้ที่เขียนถึง
    พรุ่งนี้ผมจะมาหาคุณ

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

มา

  1. เป็นคำประกอบกริยาแสดงทิศทางเข้าหาตัวผู้พูด
    หันมาทางนี้
    เอามานี่
  2. เป็นคำประกอบกริยาแสดงอาการที่ต่อเนื่องเรื่อยมาถึงปัจจุบัน
    ความเป็นมา
    อยู่มาวันหนึ่ง
    ส่งหนังสือบอกข่าวมา
คำตรงข้าม
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากบาลี มา; เทียบสันสกฤต मास् (มาสฺ)

คำนาม

แก้ไข

ภาษาเขมรเหนือ

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข
รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

การออกเสียง

แก้ไข

มา

  1. หนึ่ง (ใช้เป็นจำนวนนับ)

คำพ้องความ

แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

มา (คำอาการนาม ก๋ารมา หรือ ก๋านมา)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨾᩣ (มา)

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

มา

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨾᩣ (มา)

ภาษาบาลี

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

คำอนุภาค

แก้ไข

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

มา

  1. อย่า

คำนาม

แก้ไข

การผันรูป

แก้ไข