ผู้
ภาษาไทยแก้ไข
รากศัพท์แก้ไข
จากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *pʰuːᶜ, จากภาษาจีนยุคกลาง 甫 (MC pɨoX)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຜູ້ (ผู้), ภาษาไทลื้อ ᦕᦴᧉ (ผู้), ภาษาไทดำ ꪠꪴ꫁ (ฝุ้), ภาษาไทใหญ่ ၽူႈ (ผู้), ภาษาอาหม 𑜇𑜥 (ผู), ภาษาจ้วง boux
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | พู่ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pûu |
ราชบัณฑิตยสภา | phu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰuː˥˩/(ส) | |
คำพ้องเสียง | พู่ ภู่ |
คำนามแก้ไข
ผู้
- คำใช้แทนคำว่า คนหรือสิ่งที่ถือเสมือนคน
- คำใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ใช้เป็นนาม เช่น ผู้โดยสาร ผู้ร้าย
คำเกี่ยวข้องแก้ไข
คำคุณศัพท์แก้ไข
ผู้
คำเกี่ยวข้องแก้ไข
คำแปลภาษาอื่นแก้ไข
คำสันธานแก้ไข
ผู้
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.