ภาษาไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰɲaɰᴮ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨿᩱ᩵ (หไย่) หรือ ᩉ᩠ᨿᩲ᩵ (หใย่), ภาษาลาว ໃຫຍ່ (ใหย่), ภาษาไทลื้อ ᦺᦊᧈ (ไหฺย่), ภาษาไทดำ ꪻꪐ꪿ (ใหฺญ่), ภาษาไทใหญ่ ယႂ်ႇ (ใย่), ภาษาไทใต้คง ᥕᥬᥱ (ใย่), ภาษาพ่าเก ယၞ် (ใย), ภาษาอาหม 𑜐𑜧 (ญว์), 𑜊𑜨𑜧 (ยอ̂ว์) หรือ 𑜊𑜧𑜤 (ยาว์)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ไหฺย่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyài
ราชบัณฑิตยสภาyai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jaj˨˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ใหญ่ (คำอาการนาม ความใหญ่)

  1. โต, มีขนาดไม่เล็ก
  2. คนโต
  3. ขนาดโตกว่า หรือสำคัญกว่าเมื่อเปรียบเทียบกัน

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

ใหญ่ (คำอาการนาม ความใหญ่)

  1. รุนแรงมาก, อุตลุต
    คนทะเลาะกันใหญ่อยู่ที่หน้าปากซอย

คำตรงกันข้าม

แก้ไข

คำพ้องความ

แก้ไข

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ใหญ่ (คำอาการนาม กำใหญ่ หรือ ความใหญ่)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨿᩱ᩵ (หไย่)

ภาษาอีสาน

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ใหญ่ (คำอาการนาม ความใหญ่)

  1. ใหญ่, โต, กว้างขวาง
    ลูกผู้ใหญ่
    ลูกคนโต

อ้างอิง

แก้ไข