โต
ดูเพิ่ม: โต้
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | โต | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtoo |
ราชบัณฑิตยสภา | to | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /toː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขเป็นไปได้ว่ามาจากเขมรเก่าสมัยก่อนอังกอร์ តោ (โต) (ซึ่งเป็นรากของภาษาเขมร តោ (โต, “สิงโต”)) ปรากฏครั้งแรกประมาณ ค.ศ. 578-777 แต่ไม่สามารถเข้าใจความหมาย Jenner (2009) สันนิษฐานว่าหมายถึง สิงโต
คำนาม
แก้ไขโต
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำคุณศัพท์
แก้ไขโต (คำอาการนาม ความโต)
- ใหญ่, มีขนาดไม่เล็ก
- เขาสวมเสื้อตัวโต
- มีขนาดใหญ่กว่าเมื่อเทียบกัน
- มะพร้าวโตกว่ามะไฟ
- มะเขือเทศโตกว่ามะเขือพวง
คำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขโต
คำกริยา
แก้ไขโต (คำอาการนาม การโต)
ภาษาเลอเวือะตะวันออก
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /to/
คำคุณศัพท์
แก้ไขโต
ภาษาอีสาน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ตัว, ภาษาคำเมือง ᨲᩫ᩠ᩅ (ต็ว), ภาษาลาว ໂຕ (โต) หรือ ຕົວ (ต็ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦎ (โต), ภาษาไทดำ ꪶꪔ (โต), ภาษาไทใหญ่ တူဝ် (ตูว), ภาษาไทใต้คง ᥖᥨᥝ (โตว), ภาษาอาหม 𑜄𑜥 (ตู) หรือ 𑜄𑜤 (ตุ), ภาษาจ้วง duz, ภาษาแสก ทั๊ว
คำนาม
แก้ไขโต
คำลักษณนาม
แก้ไขโต