กัน
ภาษาไทยแก้ไข
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | กัน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gan |
ราชบัณฑิตยสภา | kan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kan˧/(ส) | |
คำพ้องเสียง |
รากศัพท์ 1แก้ไข
คำสรรพนามแก้ไข
กัน
คำนามแก้ไข
กัน
คำเกี่ยวข้องแก้ไข
คำแปลภาษาอื่นแก้ไข
รากศัพท์ 2แก้ไข
จากภาษาไทดั้งเดิม *kanᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກັນ (กัน), ภาษาไทลื้อ ᦂᧃ (กัน), ภาษาไทใหญ่ ၵၼ် (กัน), ภาษาอาหม 𑜀𑜃𑜫 (กน์),ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gaen (nduij gaen-ด้วยกัน)
คำกริยาวิเศษณ์แก้ไข
กัน
- คำประกอบท้ายกริยาของผู้กระทำตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปแสดงการกระทำร่วมกัน อย่างเดียวกันหรือต่อกัน
- คิดกัน
- หารือกัน
คำเกี่ยวข้องแก้ไข
รากศัพท์ 3แก้ไข
จากภาษาจีนยุคกลาง 干 (MC kɑn); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກັນ (กัน), ภาษาไทดำ ꪀꪽ (กัน), ภาษาไทใหญ่ ၵၼ် (กัน), ภาษาเขมร កាល់ (กาล̍)
คำกริยาแก้ไข
กัน (คำอาการนาม การกัน)
- กีดขวางไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น
- กันฝน, กันสนิม, กันภัย
- แยกไว้ เช่น
- กันเงินไว้ 500 บาทเพื่อจ่ายในสิ่งที่จำเป็น
- กันเอาไว้เป็นพยาน
คำเกี่ยวข้องแก้ไข
คำแปลภาษาอื่นแก้ไข
(1) กีดขวาง
คำนามแก้ไข
กัน
- ชื่อช้างศึกพวกหนึ่งมีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ
- ชื่อเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขา มีหลายลำ ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง 2 ข้างและกันอยู่ท้ายกระบวนระหว่างเรือของเจ้านายที่ตามเสด็จ
คำพ้องความแก้ไข
คำประสมแก้ไข
รากศัพท์ 4แก้ไข
จากภาษาเขมร កាល់ (กาล̍, “โกนให้เสมอ”)
คำกริยาแก้ไข
กัน (คำอาการนาม การกัน)
ภาษาเขมรถิ่นไทยแก้ไข
รากศัพท์แก้ไข
การออกเสียงแก้ไข
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kan/
คำกริยาแก้ไข
กัน