ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ก่น
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgòn
ราชบัณฑิตยสภาkon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kon˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ก่น

  1. (โบราณ) ตั้งหน้า, มุ่ง
    อยู่เย็นยงงก่นเกอด พิจลการ
    (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์)
ลูกคำ
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨠᩫ᩠᩵ᨶ (ก็่น), เขิน ᨠᩫ᩠᩵ᨶ (ก็่น), ลาว ກົ່ນ (ก็่น), ไทลื้อ ᦷᦂᧃᧈ (โก่น), ไทใหญ่ ၵူၼ်ႇ (กู่น), ไทใต้คง ᥐᥨᥢᥱ (โก่น), พ่าเก ကုꩫ် (กุน์), อาหม 𑜀𑜤𑜃𑜫 (กุน์)

คำกริยา

แก้ไข

ก่น (คำอาการนาม การก่น)

  1. (ล้าสมัย, สกรรม) ขุดโค่น, ขุดอย่างถอนรากถอนโคน
ลูกคำ
แก้ไข

ภาษาญ้อ

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ก่น

  1. ขุดโค่น, ขุดอย่างถอนรากถอนโคน

ภาษาอีสาน

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ก่น (คำอาการนาม การก่น)

  1. ขุดโค่น, ขุดอย่างถอนรากถอนโคน

ดูเพิ่ม

แก้ไข