ดูเพิ่ม: ขด, ขัด, ขิด, ขีด, ขึด, และ ขูด

ภาษาไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ยืมมาจากจีนยุคกลาง (MC gjut|gjwot)[1]; ร่วมเชื้อสายกับลาว ຂຸດ (ขุด), ไทลื้อ ᦃᦳᧆ (ฃุด), ไทใหญ่ ၶုတ်း (ขุ๊ต), อาหม 𑜁𑜤𑜄𑜫 (ขุต์), ปู้อี gud, จ้วง gud หรือ goed หรือ hud

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ขุด (คำอาการนาม การขุด)

  1. กิริยาที่สับ เจาะ แทง หรือ คุ้ยเอาดินหรือสิ่งที่อยู่ในดินขึ้น
    ขุดดิน
    ขุดศพ
  2. อาการที่ขุดดินหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้มีรูปร่างตามที่ต้องการ
    ขุดหลุม
  3. เรียกเรือชนิดที่ทำด้วยไม้ซุงทั้งต้นหรือทั้งท่อนขุดด้านบนให้เป็นรางแล้วเบิกปากออกให้กว้าง ถากหัวและท้ายเรือให้เรียวเชิดขึ้นตามส่วน ว่า เรือขุด
  4. โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น, ขุดคุ้ย หรือ คุ้ยเขี่ย ก็ว่า
    ขุดเรื่องเก่า ๆ ขึ้นมาพูด

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.