เรียก
ภาษาไทยแก้ไข
รูปแบบอื่นแก้ไข
- (เลิกใช้) รยก
รากศัพท์แก้ไข
จากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *riəkᴰᴸ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก), ภาษาเขิน ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก), ภาษาอีสาน เฮียก, ภาษาลาว ຮຽກ (ฮย͢ก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦣᧅ (เฮก), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၵ်ႈ (เห้ก), ภาษาพ่าเก ꩭိက် (หิก์), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜀𑜫 (ริก์), ภาษาแสก เหร้ก , ภาษาจ้วงเมืองJingxi : lig (ลีก), เมืองDaxin: lieg (เลียก)
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | เรียก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | rîiak |
ราชบัณฑิตยสภา | riak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ria̯k̚˥˩/(สัมผัส) |
คำกริยาแก้ไข
เรียก (คำอาการนาม การเรียก)
- เปล่งเสียงเพื่อให้มาหรือให้ไปเป็นต้น
- แม่เรียกให้มาทำการบ้าน
- ช่วยเรียกสุนัขไปเสียที
- ออกชื่อ
- ครูเรียกมาลีให้มาหา
- เชิญ
- เรียกประชุม
- เรียกหมอ
- เรียกน้ำ
- เรียกลม
- ให้ชื่อ
- น้ำที่ทำให้แข็งเรียกว่าน้ำแข็ง
- ภาชนะอย่างนี้เรียกว่าถ้วย
- กำหนดเอา, ร้องเอา
- หมอเรียกค่ารักษาพยาบาล
- โจทก์เรียกค่าเสียหาย
- รัฐบาลเรียกเก็บภาษี
- (ภาษาปาก) ชวนให้มีอาการเช่นนั้น
- เรียกน้ำตา
- เรียกเสียงตบมือ