ชวน
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์ 1
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับอีสาน ชวน, ลาว ຊວນ (ซวน), คำเมือง ᨩ᩠ᩅᩁ (ชวร), เขิน ᨩ᩠ᩅᩁ (ชวร); เทียบไทลื้อ ᦷᦋ (โช), ไทใหญ่ ၸူဝ်း (จู๊ว) หรือ သူၼ်း (สู๊น), ไทใต้คง ᥓᥨᥝᥰ (โจ๊ว), อาหม 𑜋𑜥 (ฉู), จีนยุคกลาง 勸 (MC khjwonH)
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ชวน | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chuuan |
ราชบัณฑิตยสภา | chuan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰua̯n˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ชวร |
คำกริยา
แก้ไขชวน (คำอาการนาม การชวน)
รากศัพท์ 2
แก้ไขยืมมาจากสันสกฤต जवन (ชวน, “เร็ว”) หรือ บาลี ชวน (“เร็ว”)
รูปแบบอื่น
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | [เสียงสมาส] ชะ-วะ-นะ- | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chá-wá-ná- |
ราชบัณฑิตยสภา | cha-wa-na- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰa˦˥.wa˦˥.na˦˥./ |
คำนาม
แก้ไขชวน
- (ภาษาหนังสือ) ความเร็ว, ความไว
- (ภาษาหนังสือ) ความเร็วของปัญญาหรือความคิด