สับ
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สับ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sàp |
ราชบัณฑิตยสภา | sap | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sap̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
รากศัพท์ 1
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩢ᩠ᨷ (สับ), ภาษาลาว ສັບ (สับ), ภาษาไทใหญ่ သပ်း (สั๊ป), ภาษาจ้วง saep (สับ, “หั่นเป็นท่อนๆ”)
คำกริยา
แก้ไขสับ (คำอาการนาม การสับ)
- เอาของมีคมเช่นมีดหรือขวานฟันลงไปโดยแรงหรือซอยถี่ ๆ
- สับกระดูกหมู
- สับมะละกอ
- กิริยาที่เอาสิ่งมีปลายงอนหรือปลายแหลมเจาะลงไป
- เอาขอสับช้าง
- เอาสิ่งที่เป็นขอเกี่ยวเข้าไว้
- สับขอหน้าต่าง
- (ในเชิงเปรียบเทียบ) อาการที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น
- สับด้วยสันมือ
- ถูกโขกถูกสับ
- ทำเชือกให้เข้าเกลียวตั้งแต่ 3 เกลียวขึ้นไปให้เขม็งแน่น เรียกว่า สับเชือก
- เปลี่ยนแทนที่กัน
- วางของสับที่
- ใส่รองเท้าสับข้าง
- เต้นรำสับคู่
- สับตัวจำเลย
- (ภาษาปาก, สแลง) ตำหนิ, ด่า
คำสืบทอด
แก้ไข- → ญัฮกุร: ซับ
คำพ้องความ
แก้ไข- (เปลี่ยนแทนที่): สลับ
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำคุณศัพท์
แก้ไขสับ
คำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขสับ
- (โบราณ) สรรพ