สิบ
ภาษาไทยแก้ไข
รากศัพท์แก้ไข
จากภาษาจีนยุคกลาง 十 (MC d͡ʑiɪp̚); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩥ᩠ᨷ (สิบ), ภาษาลาว ສິບ (สิบ), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲᧇ (สีบ), ภาษาไทดำ ꪎꪲꪚ (สิบ), ภาษาไทใหญ่ သိပ်း (สิ๊ป), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥙᥴ (สี๋ป), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜆𑜫 (สิป์), ภาษาปู้อี xib, ภาษาจ้วง cib, ภาษาแสก ซิ̄บ
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | สิบ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sìp |
ราชบัณฑิตยสภา | sip | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sip̚˨˩/(ส) |
เลขแก้ไข
สิบ
คำนามแก้ไข
สิบ
- เรียกเดือนที่ 10 ทางจันทรคติ ว่า เดือน 10 ตกในราวเดือนกันยายน
- ยศทหารบกหรือตำรวจชั้นประทวน ต่ำกว่าจ่า
- สิบตรี
- สิบตำรวจโท
คำประสมแก้ไข
- ครบสามสิบสอง
- จ่าสิบตรี
- จ่าสิบตำรวจ
- จ่าสิบโท
- จ่าสิบเอก
- ทรงสิบหน้า
- บอกเล่าเก้าสิบ
- แปดเหลี่ยมสิบสองคม
- เพลงออกสิบสองภาษา
- ไม่ได้สิบ
- รถสิบล้อ
- รากสามสิบ
- เศษสิบ
- สามสิบ
- สามสิบกลีบ
- สิบตรี
- สิบตำรวจตรี
- สิบตำรวจโท
- สิบตำรวจเอก
- สิบโท
- สิบเบี้ยใกล้มือ
- สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น
- สิบแปดมงกุฎ
- สิบพ่อค้าไม่เท่าพระยาเลี้ยง
- สิบสองพระกำนัล
- สิบห้าหยก ๆ สิบหกหย่อน ๆ
- สิบเหลี่ยม
- สิบเอก
- ห้าบาทสิบบาท
- ออกสิบสองภาษา