ดูเพิ่ม: ซ๊าว

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ซาว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsaao
ราชบัณฑิตยสภาsao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/saːw˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *zaːwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊາວ (ซาว), ภาษาจ้วง sauz (ซาว-ล้าง อาบ), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง sauz (ซาว-ล้าง อาบ)

คำกริยา

แก้ไข

ซาว (คำอาการนาม การซาว)

  1. เอาข้าวสารล้างน้ำด้วยวิธีใช้มือคนให้ทั่วเพื่อให้สะอาดก่อนหุงต้ม เรียกว่า ซาวข้าว

รากศัพท์ 2

แก้ไข
จำนวนภาษาไทย (แก้ไข)
 ←  10  ←  19 ๒๐
20
21  → [a], [b], [c] 30  → 
2
    เชิงการนับ: ยี่สิบ, (dialectal) ซาว
    เชิงอันดับที่: ที่ยี่สิบ
    ตัวคูณ: ยี่สิบเท่า

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *zaːwᴬ⁴ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨪᩣ᩠ᩅ (ซาว), ภาษาอีสาน ซาว, ภาษาลาว ຊາວ (ซาว), ภาษาไทลื้อ ᦌᦱᧁ (ซาว), ภาษาไทใหญ่ သၢဝ်း (ส๊าว), ภาษาไทใต้คง ᥔᥣᥝᥰ (ส๊าว), ภาษาไทแหล่ง ꩬၢဝ်း, ภาษาอ่ายตน ꩬွ် (เสา), ภาษาพ่าเก ꩬွ် (เสา), ภาษาอาหม 𑜏𑜧 (สว์)

ซาว

  1. (ภาษาถิ่น) ยี่สิบ

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

ซาว

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨪᩣ᩠ᩅ (ซาว)

ภาษาอีสาน

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *zaːwᴬ⁴ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ซาว, ภาษาคำเมือง ᨪᩣ᩠ᩅ (ซาว), ภาษาลาว ຊາວ (ซาว), ภาษาไทลื้อ ᦌᦱᧁ (ซาว), ภาษาไทใหญ่ သၢဝ်း (ส๊าว), ภาษาไทใต้คง ᥔᥣᥝᥰ (ส๊าว), ภาษาไทแหล่ง ꩬၢဝ်း, ภาษาอ่ายตน ꩬွ် (เสา), ภาษาพ่าเก ꩬွ် (เสา), ภาษาอาหม 𑜏𑜧 (สว์)

ซาว

  1. ยี่สิบ