สอง
ภาษาไทย
แก้ไข20[a], [b] | ||
← 1 | ๒ 2 |
3 → |
---|---|---|
เชิงการนับ: สอง เชิงอันดับที่: ที่สอง, รอง ตัวคูณ: สองเท่า เชิงรวบรวม: คู่ เศษส่วน (⅟…): ครึ่ง, ซีก |
รูปแบบอื่น
แก้ไข- (เลิกใช้) โสง
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *sɔːŋᴬ¹ (Jonsson, 1991), จากภาษาไทดั้งเดิม *soːŋᴬ, จากภาษาจีนยุคกลาง 雙 (MC sraewng); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩬᨦ (สอง), ภาษาลาว ສອງ (สอง), ภาษาไทลื้อ ᦉᦸᧂ (สอ̂ง), ภาษาไทดำ ꪎꪮꪉ (สอง), ภาษาไทขาว ꪎꪮꪉ, ภาษาไทแดง ꪎꪮꪉ, ภาษาไทใหญ่ သွင် (สอ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥩᥒᥴ (ส๋อ̂ง), ภาษาไทแหล่ง ꩬွꩼင်, ภาษาคำตี้ ꩬွင်, ภาษาอ่ายตน ꩬွင် (สอ̂ง์), ภาษาพ่าเก ꩬွင် (สอ̂ง์), ภาษาอาหม 𑜏𑜨𑜂𑜫 (สอ̂ง์), ภาษาปู้อี soongl, ภาษาจ้วง song, ภาษาตั่ย sloong
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สอง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sɔ̌ɔng |
ราชบัณฑิตยสภา | song | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɔːŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
เลข
แก้ไขสอง
คำพ้องความ
แก้ไข- ดูที่ อรรถาภิธาน:สอง
คำนาม
แก้ไขสอง
คำวิสามานยนาม
แก้ไขสอง
- ชื่ออำเภอหนึ่งในจังหวัดแพร่
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขจำนวน 2
|