ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɟɤːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເຊືອກ (เซือก), ภาษาคำเมือง ᨩᩮᩬᩥᨠ (เชอิก), ภาษาเขิน ᨩᩮᩨ᩠ᨠ (เชืก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦋᦲᧅ (เชีก), ภาษาไทดำ ꪹꪋꪀ (เจ̱ก), ภาษาไทใหญ่ ၸိူၵ်ႈ (เจิ้ก), ภาษาไทใต้คง ᥓᥫᥐ (เจอ̂ก), ภาษาอาหม 𑜋𑜢𑜤𑜀𑜫 (ฉึก์), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง cweg, ภาษาจ้วง cag หรือ cieg, ภาษาจ้วงแบบหนง zowg; เทียบภาษามอญ ဇုက် (ชุก์) และภาษาเวียตติกดั้งเดิม *ɟaːk (ซึ่งเป็นรากของภาษาเวียดนาม chạc)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เชือก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchʉ̂ʉak
ราชบัณฑิตยสภาchueak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɯa̯k̚˥˩/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

เชือก (คำลักษณนาม เส้น)

  1. สิ่งที่ทำด้วยด้ายหรือป่านปอเป็นต้น มักฟั่นหรือตีเกลียวสำหรับผูกหรือมัด

คำลักษณนาม

แก้ไข

เชือก

  1. ใช้เรียกช้างบ้าน
    ช้างเชือกหนึ่ง
    ช้าง 2 เชือก