ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *leːwꟲ (เสร็จ), จากภาษาจีนยุคกลาง (MC lewX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน แล้ว, ภาษาลาว ແລ້ວ (แล้ว), ภาษาคำเมือง ᩓ᩠ᩅ (แลว), ภาษาไทลื้อ (แหฺลว), ภาษาไทดำ ꪵꪩ꫁ꪫ (แล้ว), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง leux, ภาษาจ้วง leux; เทียบภาษาIu Mien liuz (จบ, หลัง)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
แล้วแล็้ว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlɛ́ɛolɛ́o
ราชบัณฑิตยสภาlaeolaeo
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/lɛːw˦˥/(สัมผัส)/lɛw˦˥/(สัมผัส)

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

แล้ว

  1. ลักษณะอาการกระทำใดเสร็จ สิ้น จบ ล่วงไป หรือสุดสิ้นลง
    กินแล้ว
    ทำแล้ว
    นอนแล้ว
  2. ลักษณะอาการต่อแต่นั้นเริ่มใหม่อีกระยะหนึ่ง (จะเป็นการกระทำอย่างเดียวกันหรือต่างกันแล้วแต่กรณี)
    กินแล้วนอน
    ขึ้นรถแล้วลงเรือ

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

แล้ว

  1. (ล้าสมัย) จบ, สิ้น, เสร็จ
    งานแล้วหรือยัง

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

แล้ว (คำอาการนาม กำแล้ว หรือ ความแล้ว)

  1. แล้ว

คำกริยา

แก้ไข

แล้ว (คำอาการนาม ก๋ารแล้ว หรือ ก๋านแล้ว)

  1. เสร็จ