ดูเพิ่ม: ใหม้

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmaɰᴮ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmɤːlᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩲ᩵ (หใม่), ภาษาลาว ໃໝ່ (ใหม่), ภาษาไทลื้อ ᦺᦖᧈ (ไหฺม่), ภาษาไทดำ ꪻꪢ꪿ (ใหฺม่), ภาษาไทใหญ่ မႂ်ႇ (ใม่), ภาษาไทใต้คง ᥛᥬᥱ (ใม่), ภาษาพ่าเก မၞ် (ใม), ภาษาอาหม 𑜉𑜧 (มว์) หรือ 𑜉𑜨𑜧 (มอ̂ว์), ภาษาซาปา maɰᴮ¹, ภาษาปู้อี mos, ภาษาจ้วง moq, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mawq

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ใหฺม่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmài
ราชบัณฑิตยสภาmai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/maj˨˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ใหม่ (คำอาการนาม ความใหม่)

  1. เพิ่งมี
    มาใหม่
    รุ่นใหม่
  2. มีอีกนอกจากที่เคยมีอยู่แล้ว
    มีเมียใหม่
  3. ซ้ำ
    พูดใหม่, ทำใหม่, อ่านใหม่
  4. อีกครั้งหนึ่ง
    ตื่นมาแล้วกลับไปนอนใหม่
  5. ยังไม่ได้ใช้
    ของใหม่
  6. ไม่เคยประสบมาก่อน
    ความรู้ใหม่ เพลงใหม่
  7. เริ่มแรก
    ข้าวใหม่
    นักเรียนใหม่
  8. ไม่ใช่เก่า
    บ้านสร้างใหม่

คำตรงข้าม

แก้ไข

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำวิสามานยนาม

แก้ไข

ใหม่

  1. ชื่อตำบลหนึ่งในอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ใหม่ (คำอาการนาม กำใหม่ หรือ ความใหม่)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨾᩱ᩵ (หไม่)