น้อย
ภาษาไทยแก้ไข
รากศัพท์แก้ไข
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *noːjꟲ (“เล็ก”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ນ້ອຍ (น้อย̃), ภาษาคำเมือง ᨶᩬ᩠᩶ᨿ (นอ้ย), ภาษาไทลื้อ ᦓᦾᧉ (น้อ̂ย), ภาษาไทดำ ꪙ꫁ꪮꪥ (น้อย), ภาษาไทขาว ꪙꪮꪥꫂ, ภาษาไทใหญ่ ၼွႆႉ (น๎อ̂ย), ภาษาจ้วง noix
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | น้อย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nɔ́ɔi |
ราชบัณฑิตยสภา | noi | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /nɔːj˦˥/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์แก้ไข
น้อย (คำอาการนาม ความน้อย)
- ไม่มาก
- ฝนน้อย
- น้ำน้อย
- ไม่ใหญ่, เล็ก
- ข้าราชการชั้นผู้น้อย
- โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่ด้อยความสำคัญหรือเป็นรอง
- ครูน้อย
- ผู้น้อย
- แสดงความรู้สึกว่าน่ารักน่าเอ็นดู
- เณรน้อย
- เด็กน้อย
- น้องน้อย
- สาวน้อย
- หนูน้อย
คำกริยาวิเศษณ์แก้ไข
น้อย (คำอาการนาม ความน้อย)
- ไม่มาก
- มีเงินน้อย
- พูดน้อย