ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ขุน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkǔn
ราชบัณฑิตยสภาkhun
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰun˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

จากจีนยุคกลาง (MC kjun); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨡᩩᩁ (ขุร), ลาว ຂຸນ (ขุน), ไทลื้อ ᦃᦳᧃ (ฃุน), ไทใหญ่ ၶုၼ် (ขุน), ไทใต้คง ᥑᥧᥢᥴ (ฃู๋น), อาหม 𑜁𑜤𑜃𑜫 (ขุน์); เทียบเขมรเก่า ខុណ (ขุณ), เขมร ខុន (ขุน) และ ឃុន (ฆุน)

รูปแบบอื่น

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ขุน

  1. ผู้เป็นใหญ่, หัวหน้า
  2. (โบราณ) บรรดาศักดิ์ข้าราชการรองจากหลวงลงมา
    ขุนวิจิตรมาตรา
  3. (โบราณ) ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานสัญญาบัตร ตามปรกติ ต้องมีศักดินาตั้งแต่ 400 ขึ้นไป
  4. เรียกหมากรุกตัวสำคัญที่สุด

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ขุน

  1. ใหญ่
    ขุนเขา
    ขุนนาง

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ขุน (คำอาการนาม การขุน)

  1. ให้อาหารแก่สัตว์เลี้ยง
  2. โดยปริยายหมายถึงเลี้ยงดูอย่างดี

ภาษาปักษ์ใต้

แก้ไข

คำสรรพนาม

แก้ไข

ขุน

  1. คุณ

คำพ้องความ

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  • ขุน” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 9