ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ขน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkǒn
ราชบัณฑิตยสภาkhon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰon˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *q.pɯlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับลาว ຂົນ (ข็น), ไทลื้อ ᦃᦳᧃ (ฃุน), ไทดำ ꪶꪄꪙ (โฃน), ไทใหญ่ ၶူၼ် (ขูน), อ่ายตน ၵုꩫ် (ขุน์), อาหม 𑜁𑜤𑜃𑜫 (ขุน์), ปู้อี benl, จ้วง bwn, จ้วงแบบจั่วเจียง koen (ขน), จ้วงแบบหนง koan, แสก ปุ๋น

คำนาม

แก้ไข

ขน (คำลักษณนาม เส้น)

  1. สิ่งที่เป็นเส้นขึ้นตามผิวหนังคนและสัตว์ และใช้ตลอดไปจนถึงที่ขึ้นบนผิวต้นไม้ ผลไม้ ใบไม้ และอื่น ๆ, ราชาศัพท์ว่า พระโลมา
    ขนตา
    ขนนก
    ขนเม่น
คำพ้องความ
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับลาว ຂົນ (ข็น), แสก ขุ่นจ้วงแบบจั่วเจียง konz, จ้วง gonz

คำกริยา

แก้ไข

ขน (คำอาการนาม การขน)

  1. เอาสิ่งของเป็นต้นจำนวนมากจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยบรรทุก หาบ หาม หรือด้วยวิธีอื่น

รากศัพท์ 3

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ขน

  1. (หญ้า~) ชื่อหญ้าชนิด Brachiaria mutica (Forssk.) Stapf ในวงศ์ Gramineae ขึ้นในที่ชื้นและชายน้ำ ข้อ กาบใบ และใบมีขน ใช้เป็นอาหารสัตว์, ปล้องขน ก็เรียก

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ขน (คำอาการนาม ก๋ารขน หรือ ก๋านขน)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩕᩫ᩠ᨶ (กร็น)