ภาษาไทย แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

  • (เลิกใช้) ขนน (ทุกความหมาย)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ขัน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkǎn
ราชบัณฑิตยสภาkhan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰan˩˩˦/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

รากศัพท์ 1 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂັນ (ขัน), ภาษาไทลื้อ ᦃᧃ (ฃัน), ภาษามอญ ခဝ် (ขว์)

คำนาม แก้ไข

ขัน (คำลักษณนาม ใบ หรือ ลูก)

  1. ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ มีหลายชนิด

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂັນ (ขัน), ภาษาจ้วง haen

คำกริยา แก้ไข

ขัน (คำอาการนาม การขัน)

  1. ทำให้ตึงหรือให้แน่นด้วยวิธีหมุนกวดเร่งเข้าไป
    ขันชะเนาะ
    ขันเกลียว

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ขัน

  1. แข็งแรง, กล้าหาญ
    กูนี้คนขัน จะขามคนใด
    (สมุทรโฆษ)

รากศัพท์ 3 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *χalᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂັນ (ขัน), ภาษาไทลื้อ ᦃᧃ (ฃัน), ภาษาไทดำ ꪄꪽ (ฃัน), ภาษาไทขาว ꪄꪽ, ภาษาไทใหญ่ ၶၼ် (ขัน), ภาษาจ้วง haen, ภาษาจ้วงแบบหนง kaen, ภาษาแสก หั่น

คำกริยา แก้ไข

ขัน (คำอาการนาม การขัน)

  1. อาการร้องอย่างหนึ่งของไก่หรือนกบางชนิดเฉพาะในตัวผู้ เช่น ไก่ ไก่ฟ้า นกเขา ใช้เป็นสัญญาณติดต่อสื่อสารในสัตว์ประเภทเดียวกัน จะร้องมากในระหว่างฤดูผสมพันธุ์ หรือในเวลาจำเพาะเช่นเช้าตรู่
  2. (ภาษาปาก, สแลง) (องคชาต) แข็งตัว

รากศัพท์ 4 แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ขัน (คำอาการนาม การขัน)

  1. หัวเราะ, นึกอยากหัวเราะ

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ขัน (คำอาการนาม ความขัน)

  1. น่าหัวเราะ, ชวนหัวเราะ, ขบขัน ก็ว่า

รากศัพท์ 5 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ขัน (คำลักษณนาม ต้น)

  1. คัน, ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิดหนึ่ง