ภาษาไทลื้อ แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *q.pɯlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขน, ภาษาลาว ຂົນ (ข็น), ภาษาไทดำ ꪶꪄꪙ (โฃน), ภาษาไทใหญ่ ၶူၼ် (ขูน), ภาษาอ่ายตน ၵုꩫ် (ขุน์), ภาษาอาหม 𑜁𑜤𑜃𑜫 (ขุน์), ภาษาปู้อี benl, ภาษาจ้วง bwn, ภาษาจ้วงแบบหนง koan, ภาษาแสก ปุ๋น

คำนาม แก้ไข

ᦃᦳᧃ (ฃุน) (อักษรไทธรรม ᨡᩩᩁ)

  1. ขน
คำเกี่ยวข้อง แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

จากภาษาจีนยุคกลาง (MC kjun); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขุน, ภาษาคำเมือง ᨡᩩᩁ (ขุร), ภาษาลาว ຂຸນ (ขุน), ภาษาไทใหญ่ ၶုၼ် (ขุน), ภาษาไทใต้คง ᥑᥧᥢᥴ (ฃู๋น), ภาษาอาหม 𑜁𑜤𑜃𑜫 (ขุน์)

คำนาม แก้ไข

ᦃᦳᧃ (ฃุน) (อักษรไทธรรม ᨡᩩᩁ)

  1. ขุน