ดูเพิ่ม: แก, แก้, และ แก๋

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์แก่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgɛ̀ɛ
ราชบัณฑิตยสภาkae
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kɛː˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *keːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩯ᩵ (แก่), ภาษาปักษ์ใต้ แก๋, ภาษาลาว ແກ່ (แก่), ภาษาอีสาน แก หรือ แก่, ภาษาไทลื้อ ᦶᦂᧈ (แก่), ภาษาไทขาว ꪵꪀꫀ, ภาษาไทใหญ่ ၵႄႇ (แก่), ภาษาไทใต้คง ᥐᥥᥱ (เก่), ภาษาพ่าเก ကေ (เก), ภาษาอาหม *𑜀𑜦𑜧 (*เก), ภาษาจ้วง geq, ภาษาแสก เก

คำคุณศัพท์

แก้ไข

แก่ (คำอาการนาม ความแก่)

  1. มีอายุมาก
    แก่ไปทุกวัน
    ไม้แก่
    เด็กคนนี้แก่กว่าเด็กคนนั้น
  2. อยู่ในวัยชรา
    คนแก่
  3. จัด
    เหลืองแก่
    แก่เปรี้ยว
    แก่หวาน
  4. โดยปริยายหมายความว่า จัดเจน หนัก หรือยิ่งไปในทางนั้น
    แก่สังคม
    แก่วิชา
    แก่เหล้า
    แก่เล่น
    แก่ไฟ
คำพ้องความ
แก้ไข
ดูที่ อรรถาภิธาน:แก่
คำประสม
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແກ່ (แก่)

คำบุพบท

แก้ไข

แก่

  1. ใช้นำหน้านามฝ่ายรับ
    องค์กรการกุศลมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียน
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

ภาษาอีสาน

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແກ່ (แก่)

คำกริยา

แก้ไข

แก่ (คำอาการนาม การแก่)

  1. ลาก, เข็น
    แก่เกวียน
    ลากเกวียน