ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *nwɯːnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨶᩬᩁ (นอร), ภาษาเขิน ᨶᩬᩁ (นอร), ภาษาลาว ນອນ (นอน), ภาษาไทลื้อ ᦓᦸᧃ (นอ̂น), ภาษาไทดำ ꪙꪮꪙ (นอน), ภาษาไทขาว ꪙꪮꪙ, ภาษาไทใหญ่ ၼွၼ်း (น๊อ̂น), ภาษาไทใต้คง ᥘᥩᥢᥰ (ล๊อ̂น) หรือ ᥢᥩᥢᥰ (น๊อ̂น), ภาษาอ่ายตน ꩫွꩫ် (นอ̂น์), ภาษาพ่าเก ꩫွꩫ် (นอ̂น์), ภาษาอาหม 𑜃𑜨𑜃𑜫 (นอ̂น์), ภาษาจ้วงแบบหนง noanz

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์นอน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnɔɔn
ราชบัณฑิตยสภาnon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/nɔːn˧/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

นอน (คำอาการนาม การนอน)

  1. เอนตัวลงกับพื้นหรือที่ใด
  2. อาการที่สัตว์เอนตัวลงกับพื้นเพื่อพักผ่อนเป็นต้นหรือยืนหลับอยู่กับที่
  3. อาการที่ทำให้ของสูงทอดลง
    เอาเสานอนลง
  4. อาการที่พรรณไม้บางชนิด เช่น จามจุรี ผักกระเฉด ไมยราบ หลุบใบในเวลาใกล้จะสิ้นแสงตะวัน
  5. (ภาษาปาก, สแลง) มีเพศสัมพันธ์

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

นอน

  1. ลักษณะที่ตรงข้ามกับ ยืน หรือ ตั้ง
    แนวนอน
    แปนอน

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

นอน (คำอาการนาม ก๋ารนอน หรือ ก๋านนอน)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨶᩬᩁ (นอร)