พื้น
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *bɯːnꟲ⁴ (Jonsson, 1991), จากภาษาจีนยุคกลาง 本 (MC pwonX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ພື້ນ (พื้น), ภาษาคำเมือง ᨻᩨ᩠᩶ᨶ (พื้น), ภาษาไทลื้อ ᦗᦹᧃᧉ (พื้น), ภาษาไทใหญ่ ပိုၼ်ႉ (ปึ๎น), ภาษาพ่าเก ပိုꩫ် (ปึน์), ภาษาอาหม 𑜆𑜢𑜤𑜃𑜫 (ปึน์); ร่วมเชื้อสายผ่านภาษาจีน: ภาษาจ้วง bonj; ร่วมรากกับ ปึ๊ง ผ่านภาษาแต้จิ๋ว
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | พื้น | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pʉ́ʉn |
ราชบัณฑิตยสภา | phuen | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰɯːn˦˥/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขพื้น
- ส่วนราบด้านหน้าของสิ่งที่เป็นผืนเป็นแผ่น
- พื้นเรือน
- แถบ, แถว, ถิ่น
- คนพื้นนี้
- (คณิตศาสตร์) ฟังก์ชันปัดเศษลงเป็นจำนวนเต็มมากสุดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับจำนวนนั้น, เขียนแทนด้วย
ลูกคำ
แก้ไขคำแปลภาษาอื่น
แก้ไขภาษาคำเมือง
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pɯːn˦˥/
คำนาม
แก้ไขพื้น
- อีกรูปหนึ่งของ ᨻᩨ᩠᩶ᨶ (พื้น)
คำลักษณนาม
แก้ไขพื้น
- อีกรูปหนึ่งของ ᨻᩨ᩠᩶ᨶ (พื้น)
คำคุณศัพท์
แก้ไขพื้น
- อีกรูปหนึ่งของ ᨻᩨ᩠᩶ᨶ (พื้น)