คัน
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | คัน | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kan |
ราชบัณฑิตยสภา | khan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰan˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɡalᴬ; ร่วมเชื้อสายกับลาว ຄັນ (คัน), ไทใต้คง ᥐᥢᥰ (กั๊น), จ้วงแบบจั่วเจียง kaenz
คำนาม
แก้ไขคัน (คำลักษณนาม คัน)
คำลักษณนาม
แก้ไขคัน
รากศัพท์ 2
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɣalᴬ (“แนวดินกั้นน้ำ”); ร่วมเชื้อสายกับลาว ຄັນ (คัน), ไทลื้อ ᦅᧃ (คัน), ไทใหญ่ ၵၼ်း (กั๊น),จ้วงแบบจั่วเจียง kaenz/kenz/haenz
รูปแบบอื่น
แก้ไข- (เลิกใช้) ฅัน
คำนาม
แก้ไขคัน (คำลักษณนาม คัน)
- แนวดินหรือแนวทรายเป็นต้นที่พูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว
- คันทราย
- แนวดินที่พูนขึ้นมาสำหรับกั้นน้ำ
- คันนา
- คันดิน
รากศัพท์ 3
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɣalᴬ (“อาการอยากเกา”); ร่วมเชื้อสายกับอีสาน คัน, ลาว ຄັນ (คัน), คำเมือง ᨤᩢ᩠ᨶ (ฅัน), เขิน ᨤᩢ᩠ᨶ (ฅัน), ไทลื้อ ᦆᧃ (ฅัน), ไทใหญ่ ၶၼ်း (ขั๊น, “เต็มไปด้วยกามตัณหา”), ไทใต้คง ᥑᥢᥰ (ฃั๊น, “อยู่ในช่วงมีเพศสัมพันธ์”), จ้วง haenz
รูปแบบอื่น
แก้ไข- (เลิกใช้) ฅัน
คำกริยา
แก้ไขคัน (คำอาการนาม การคัน หรือ ความคัน)
- อาการที่รู้สึกให้อยากเกา
- อาการที่มือหรือปากอยู่ไม่สุข คือ อยากทำหรือพูดในสิ่งที่ไม่ควร เรียกว่า มือคัน ปากคัน
- อาการที่ให้รู้สึกอยากด่าอยากตีเป็นต้น เรียกว่า คันปาก คันมือ คันเท้า
รากศัพท์ 4
แก้ไขคำนาม
แก้ไขคัน (คำลักษณนาม ต้น)
- ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Amesiodendron chinense (Merr.) Hu ในวงศ์ Sapindaceae ขึ้นตามชายน้ำ สูงประมาณ 10 เมตร
คำพ้องความ
แก้ไขภาษาคำเมือง
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /xan˧˧/
คำกริยา
แก้ไขภาษาอีสาน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขคำสันธาน
แก้ไขคัน