ดูเพิ่ม: , ส., สิ, สี่, สุ, สู, สู่, และ สู้

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siːᴬ¹ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩈᩦ (สี), ลาว ສີ (สี), ไทลื้อ ᦉᦲ (สี), ไทดำ ꪎꪲ (สิ), ไทใหญ่ သီ (สี), ไทใต้คง ᥔᥤᥴ (สี๋), พ่าเก ꩬီ (สี), อาหม 𑜏𑜣 (สี)

คำนาม

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

สี (คำอาการนาม การสี)

  1. (โบราณ) ครู่, รู่
  2. ครูด, ถู
    ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้
    ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน
  3. ชัก
    สีซอ
  4. ทำให้เปลือกออกด้วยเครื่องอย่างสีข้าว

รากศัพท์ 2

แก้ไข

เป็นไปได้ว่ามาจากจีนยุคกลาง (MC srik) ซึ่ง /-k/ หายไป; ร่วมเชื้อสายกับลาว ສີ (สี), ไทลื้อ ᦉᦲ (สี), ไทใหญ่ သီ (สี), คำเมือง ᩈᩦ (สี)

คำนาม

แก้ไข

สี

  1. ลักษณะของแสงสว่าง ปรากฏแก่ตาให้เห็นเป็นขาว ดำ แดง เขียว เป็นต้น
  2. สิ่งที่ทำให้ตาเห็นเป็น ขาว ดำ แดง เขียว เป็นต้น
    สีทาบ้าน
    สีย้อมผ้า
    สีวาดภาพ
คำพ้องความ
แก้ไข
ลูกคำ
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข
คำสืบทอด
แก้ไข
  • เขมร: ស៊ី (ส̰ี)
  • อูรักลาโวยจ: ซี

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

สี

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩦ (สี)

คำกริยา

แก้ไข

สี (คำอาการนาม ก๋ารสี หรือ ก๋านสี)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩦ (สี)