ดูเพิ่ม: , ส., สิ, สี, สุ, สู, สู่, และ สู้

ภาษาไทย

แก้ไข
จำนวนภาษาไทย (แก้ไข)
40
 ←  3
4
5  → 
    เชิงการนับ: สี่
    เชิงอันดับที่: ที่สี่
    ตัวคูณ: สี่เท่า
    เศษส่วน (⅟…): (dated) เสี้ยว
 
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia
 
ตู้โทรศัพท์สี่ตู้

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *siːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC sijH), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *b-ləj; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน สี่, ภาษาลาว ສີ່ (สี่), ภาษาคำเมือง ᩈᩦ᩵ (สี่), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲᧈ (สี่), ภาษาไทดำ ꪎꪲ꪿ (สิ่), ภาษาไทใหญ่ သီႇ (สี่), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥱ (สี่), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี), ภาษาปู้อี sis, ภาษาจ้วง seiq, ภาษาจ้วงใต้ siq

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์สี่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsìi
ราชบัณฑิตยสภาsi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/siː˨˩/(สัมผัส)

สี่

  1. จำนวนสามบวกหนึ่ง, จำนวนจุดที่มีในนี้ (••••)

คำพ้องความ

แก้ไข
ดูที่ อรรถาภิธาน:สี่

คำนาม

แก้ไข

สี่

  1. เรียกเดือนที่ 4 ทางจันทรคติ ว่า เดือน 4 ตกในราวเดือนมีนาคม

ลูกคำ

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

ภาษาแสก

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

สี่

  1. สี