ดูเพิ่ม: , ส., สิ, สี, สี่, สุ, สู่, และ สู้

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์สู
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsǔu
ราชบัณฑิตยสภาsu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/suː˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *suːᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩪ (สู), ภาษาอีสาน สู, ภาษาลาว ສູ (สู), ภาษาไทลื้อ ᦉᦴ (สู), ภาษาไทดำ ꪎꪴ (สุ), ภาษาไทใหญ่ သူ (สู), ภาษาไทใต้คง ᥔᥧᥴ (สู๋), ภาษาอาหม 𑜏𑜥 (สู), ภาษาจ้วง sou

คำสรรพนาม

แก้ไข

สู

  1. (โบราณ) พวกคุณ, พวกท่าน, พวกเธอ
    กูเห็นว่าสูทั้งสองไปวัด

ดูเพิ่ม

แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

สู

  1. (โบราณ) อาย, อับอาย
    มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
    (ตะเลงพ่าย)
ลูกคำ
แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำสรรพนาม

แก้ไข

สู

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩪ (สู, ท่าน, พวกท่าน)

ภาษาอีสาน

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *suːᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สู, ภาษาคำเมือง ᩈᩪ (สู), ภาษาลาว ສູ (สู), ภาษาไทลื้อ ᦉᦴ (สู), ภาษาไทดำ ꪎꪴ (สุ), ภาษาไทใหญ่ သူ (สู), ภาษาไทใต้คง ᥔᥧᥴ (สู๋), ภาษาอาหม 𑜏𑜥 (สู), ภาษาจ้วง sou

คำสรรพนาม

แก้ไข

สู

  1. คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปพหูพจน์; พวกเธอ, พวกมึง