ดูเพิ่ม: อายุ, อ่าย, และ อ้าย

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʔaːjᴬ³ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩋᩣ᩠ᨿ (อาย), เขิน ᩋᩣ᩠ᨿ (อาย), ลาว ອາຍ (อาย), ไทลื้อ ᦀᦻ (อาย), ไทดำ ꪮꪱꪥ (อาย), ไทใหญ่ ဢၢႆ (อาย), ไทใต้คง ᥟᥣᥭ (อาย), อาหม 𑜒𑜩 (อย์)

คำกริยา

แก้ไข

อาย (คำอาการนาม การอาย หรือ ความอาย)

  1. (อกรรม) รู้สึกกระดาก, รู้สึกขายหน้า
    คำพ้องความ: เขิน, เหนียม
    คำตรงข้าม: หน้าด้าน, หน้าทน, หน้าหนา
ลูกคำ
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข
ดูเพิ่ม
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

แผลงมาจาก ไอ (สิ่งอย่างควันที่ลอยออกมา); ร่วมเชื้อสายกับอีสาน อาย, ลาว ອາຍ (อาย), เขิน ᩋᩣ᩠ᨿ (อาย), ไทลื้อ ᦀᦻ (อาย), ไทใหญ่ ဢၢႆ (อาย), ไทใต้คง ᥟᥣᥭ (อาย)

คำนาม

แก้ไข

อาย

  1. กลิ่น
การใช้
แก้ไข

มักใช้เข้าคู่กับคำ กลิ่น เป็น กลิ่นอาย

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข
  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) อาย

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

อาย (คำอาการนาม ก๋ารอาย หรือ ก๋านอาย หรือ กำอาย หรือ ความอาย)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩋᩣ᩠ᨿ (อาย)