ภาษาไทยแก้ไข

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์ขาว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkǎao
ราชบัณฑิตยสภาkhao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰaːw˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *xaːwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨡᩣ᩠ᩅ (ขาว), ภาษาปักษ์ใต้ ข้าว, ภาษาลาว ຂາວ (ขาว), ภาษาไทลื้อ ᦃᦱᧁ (ฃาว), ภาษาไทดำ ꪄꪱꪫ (ฃาว), ภาษาไทใหญ่ ၶၢဝ် (ขาว), ภาษาไทใต้คง ᥑᥣᥝᥴ (ฃ๋าว), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์) หรือ 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์), ภาษาจ้วง kau/hau, ภาษาปู้อี haaul, ภาษาแสก ห่าว; เทียบภาษาไหลดั้งเดิม *kʰaːw

คำนามแก้ไข

ขาว

  1. สีชนิดหนึ่งเหมือนสำลี

คำคุณศัพท์แก้ไข

ขาว (คำอาการนาม ความขาว)

  1. มีสีอย่างสำลี
  2. โดยปริยายหมายความว่า แจ่มแจ้ง, สะอาดบริสุทธิ์, ปราศจากมลทิน

คำพ้องความแก้ไข

ดูที่ อรรถาภิธาน:ขาว
คำตรงข้ามแก้ไข
ดูเพิ่มแก้ไข
สีในภาษาไทย
     แดง      เขียว      เหลือง      ครีม      ขาว
     เลือดหมู      บานเย็น      น้ำเงินอมเขียว      มะนาว      ชมพู
     คราม      น้ำเงิน      ส้ม      เทา      เม็ดมะปราง
     ดำ      ม่วง      น้ำตาล      ฟ้า      ฟ้าอมเขียว

รากศัพท์ 2แก้ไข

คำนามแก้ไข

ขาว

  1. เทียนขาว, ชื่อเครื่องยาสมุนไพร

ภาษาคำเมืองแก้ไข

คำคุณศัพท์แก้ไข

ขาว (ต้องการถอดอักษร) (คำอาการนาม กำขาว หรือ ความขาว)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨡᩣ᩠ᩅ (ขาว)