เหลือง
ภาษาไทย
แก้ไข เคยเสนอใน “รู้ไหมว่า”
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰlɯəŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເຫຼືອງ (เหลือง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦜᦲᧂ (เหฺลีง), ภาษาไทใหญ่ လိူင် (เลิง), ภาษาอาหม 𑜎𑜢𑜤𑜂𑜫 (ลึง์), ภาษาจ้วง lieng, ภาษาจ้วงใต้ jweng
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | เหฺลือง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lʉ̌ʉang |
ราชบัณฑิตยสภา | lueang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lɯa̯ŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
แก้ไขเหลือง (คำอาการนาม ความเหลือง)
คำพ้องความ
แก้ไข- ดูที่ อรรถาภิธาน:เหลือง
ดูเพิ่ม
แก้ไขสีในภาษาไทย | ||||
---|---|---|---|---|
แดง | เขียว | เหลือง | ครีม | ขาว |
เลือดหมู | บานเย็น | น้ำเงินอมเขียว | มะนาว | ชมพู |
คราม | น้ำเงิน | ส้ม | เทา | เม็ดมะปราง |
ดำ | ม่วง | น้ำตาล | ฟ้า | ฟ้าอมเขียว |
คำนาม
แก้ไขเหลือง
- พริกเหลือง, เดือยไก่, ชื่อพริกพันธุ์หนึ่ง
- กุ้งเหลือง, ชื่อกุ้งทะเลชนิดหนึ่ง
- ไข้เหลือง, โรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่ง
- ชื่อปลาทะเลหลายชนิดในสกุล Caesio วงศ์ Pomadasyidae รูปร่างคล้ายปลากะพง ลำตัว ครีบ และหางสีเหลือง ครีบหางเป็นแฉกลึก มีเกล็ดถึงโคนครีบหลังและหาง เช่น ชนิด C. erythrogaster, C. chrysozonus
- ชื่อปลาทะเลชนิด Halichoeres nigrescens ในวงศ์ Labridae ลำตัวแบนข้างค่อนข้างหนา สีเขียว ไม่มีเกล็ดที่แก้ม มีเส้นสีม่วงระหว่างตาพาดเฉียงจากตาไปที่แก้ม 2-3 เส้น ขนาดยาวประมาณ 14 เซนติเมตร, เหลืองหิน ก็เรียก
คำสืบทอด
แก้ไข- → เขมร: លឿង (เลือง)