ภาษาไทยแก้ไข

 
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์ม่วง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmûuang
ราชบัณฑิตยสภาmuang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mua̯ŋ˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨾ᩠ᩅ᩵ᨦ (มว่ง), ภาษาเขิน ᨾ᩠ᩅ᩵ᨦ (มว่ง), ภาษาลาว ມ່ວງ (ม่วง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦙᧂᧈ (โม่ง)

สำหรับ “มะม่วง” มีข้อสันนิษฐานสองประการคือ มาจากสีของผลสุกของบางพันธุ์ หรือสีของยอดอ่อน

คำคุณศัพท์แก้ไข

ม่วง (คำอาการนาม ความม่วง)

  1. สีน้ำเงินปนแดง, ถ้าออกครามเรียก สีม่วงคราม, ถ้าออกแดงเรียก สีม่วงชาด, ถ้าเจือขาวเรียก สีม่วงอ่อน
    ม่วง:  
ดูเพิ่มแก้ไข
สีในภาษาไทย
     แดง      เขียว      เหลือง      ครีม      ขาว
     เลือดหมู      บานเย็น      น้ำเงินอมเขียว      มะนาว      ชมพู
     คราม      น้ำเงิน      ส้ม      เทา      เม็ดมะปราง
     ดำ      ม่วง      น้ำตาล      ฟ้า      ฟ้าอมเขียว

คำนามแก้ไข

ม่วง

  1. (โบราณ) มะม่วง
  2. (ผ้า~) ผ้าไหมสำหรับผู้ชายนุ่งที่มีสีอย่างนั้นหรือสีอย่างอื่น

รากศัพท์ 2แก้ไข

คำนามแก้ไข

ม่วง (คำลักษณนาม ลำ)

  1. ชื่อเรือขุดรูปคล้ายเรือมาด แต่ยาวกว่า รูปร่างเพรียว หัวงอน ท้ายสั้น เป็นเรือที่คหบดีนิยมใช้กันในสมัยก่อน